Page 101 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 101

3-67





                  3.9 ทรัพยากรดิน

                        สำหรับขอมูลหนวยที่ดิน ไดมาจากการสำรวจดินในระดับคอนขางละเอียด ที่ระดับมาตราสวน
                  1:25,000 (สำนักสำรวจและวิจัยทรัพยากรดิน.,2557ก; 2557ข) นำมาวิเคราะห และจัดทำหนวยที่ดิน

                  ผลจากการจัดทำหนวยที่ดิน (วุฒิชาติ, 2546) สามารถจำแนกเปนหนวยที่ดินที่ลุม ประกอบดวย
                  หนวยที่ดิน 2I 3 3I 3M2 3IM2 5 5I 5M2 6 6I 6M2 6IM2 6M4 7 7I 7IM2 8 8I 8M2 8IM2 9 9M2
                  10 11 11I 11M2 11IM2 11IM4 12 12I 12M2 12IM2 13 13M2 14 14M2 15 15BM2 16M2 17
                  17hi 17hiM2 17M2 17M4 18 18I 18M2 18IM2 20 20I 20IM2 20IM4 20M2 20M4 21 21I 21M2

                  21IM2 21M4 21IM4 23 23I 23M2 23IM2 25BM2 57 57M2 58 58M2 59 59M2 และ 59M4
                  หนวยที่ดินดอน ไดแก หนวยที่ดินที่ 26 26B 28I 28b 28M3 31B 31C 32 32M3 32B 32BI 33 33M3
                  33I 33IM3 33bI 33B 34 34M3 34I 34IM3 34gm 34gmI 34B 34BM3 34BI 34C 34D 35 35M3
                  35B 35BI 35C 35CI 36 36I 36M3 36I 36IM3 36B 36BI 36BIM3 36b,B 36b,BI 38 38M3 38I

                  38IM3 38fl 39 39M3 39I 39gm 39B 39BM3 39C 39D 40 40M3 40I 40IM3 40pan,B 40pan,BI
                  40B 40BM3 40BI 40b,B 40C 40CI 40D 42 43 43M3 43I 43IM3 43C 43D 44 44I 44B 44C 45B
                  45C 45CI 45D 45E 47C 47D 47E 48B 48BM3 48BI 48C 48CI 48D 48E 50B 50BM3 50C 50CI
                  50D 50E 51C 51D 51E 52B 52BM3 52udic,B 52udic,C 53C 53D 55B 55C 55D 56 56M3 56B

                  56BM3 56BI 56C 56CM3 56CI 56D 56E 60 60M3 และ62 และหนวยเบ็ดเตล็ด ไดแก
                  พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ำ (AQ) เขตทหาร เกาะ (I) ที่ลุมชื้นแฉะ (Marsh) บอขุด (P) ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน
                  (RL) พื้นที่ชุมชน (U) และ พื้นที่น้ำ (W) จากหนวยที่ดินดังกลาวขางตนไดอธิบายรายละเอียดของหนวย

                  ที่ดิน โดยแบงเปนดินที่ลุม ดินในที่ดอนและหนวยเบ็ดเตล็ด (รูปที่ 3-27) รายละเอียดแสดง ดังนี้
                        1) ดินในพื้นที่ลุม ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                          (1) กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัดลึก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนผสม
                  ระหวางตะกอนลำน้ำและตะกอนน้ำทะเล แลวพัฒนาในสภาพน้ำกรอย ในบริเวณที่ราบลุมที่หางจากทะเล
                  ไมมากนัก มีน้ำแชขังในชวงฤดูฝน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกที่มีการระบายน้ำเลว

                  มีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองในฤดูแลง และมีรอยถูไถลในดิน
                  สีดินสวนมากจะเปนสีเทาหรือสีเทาแกตลอด และมีจุดประสีน้ำตาล สีเหลือง หรือสีแดงปะปนตลอดชั้นดิน
                  อาจพบผลึกยิปซั่มบางเล็กนอย จะพบชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสีเหลืองของสารจาโรไซตหรือชั้นที่
                  แสดงถึงอิทธิพลของการเปนดินกรดจัด ในระดับความลึกประมาณ 100 ถึง 150 เซนติเมตรทับอยูบนชั้นดิน
                  เลนตะกอนน้ำทะเลที่มีสีเทาปนเขียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดาง

                  ประมาณ 4.0-5.5 ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทำนา
                  บางแหงมีการยกรองปลูกปาลมน้ำมัน และยางพารา หากไมมีการใชปูนเพื่อแกไขความเปนกรดของดิน
                  พืชที่ปลูกมักไมคอยไดผล แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 2I มีเนื้อที่ 1,446 ไร หรือรอยละ

                  0.02 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (2) กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนผสม
                  ระหวางตะกอนลำน้ำและตะกอนน้ำทะเลแลวพัฒนาในสภาพน้ำกรอย มีการระบายน้ำเลว หนาดินอาจ
                  แตกระแหงเปนรองในฤดูแลง และมีรอยถูไถลในดิน ดินบนมีสีดำ สวนดินลางมีสีเทาหรือน้ำตาลออน







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106