Page 81 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 81

3-36





                  มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น ้า (Yield) หรือปริมาณการให้น ้า มี

                  หน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางที่ 3-8 และรูปที่ 3-8 จากการศึกษาพบว่า

                  อัตราการให้น ้าระหว่าง 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้าน้อย
                  กว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาเป็นอัตราการให้น ้าน้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อ

                  ชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร


                  ตารางที่ 3-8  คุณภาพและอัตราการให้น ้าของน ้าใต้ดินในลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่สรวย

                                  ค าอธิบาย                         เนื้อที่ (ไร่)         ร้อยละ

                             Yield <2, TDS <500                     128,495                 47.06

                            Yield 10-20, TDS <500                    1,047                  0.38

                            Yield 2-10, TDS <500                    143,520                 52.56

                                   ผลรวม                            273,062                100.00

                  หมายเหตุ :  TDS  คือ ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้าซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (มิลลิกรัมต่อลิตร)
                  หมายเหตุ :  Yield คือ อัตราการให้น ้า (ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง)



                          (3) ศักยภาพการพัฒนาน ้าใต้ดิน
                            จากข้อมูลคุณภาพน ้าบาดาล พบว่าในเบื้องต้นบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาน ้า

                  ใต้ดินด้วยวิธีการขุดเจาะบ่อบาดาลซึ่งจะได้น ้าใต้ดินที่มีคุณภาพน ้าส าหรับเพื่อใช้บริโภคและมี
                  อัตราการให้น ้าหรือปริมาณการให้น ้าสูงสุด คือ บริเวณที่มีอัตราการให้น ้าระหว่าง 10-20 ลูกบาศก์

                  เมตรต่อชั่วโมง และมีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ใน

                  ชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 1,047 ไร่ แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาน ้าใต้
                  ดินด้วยวิธีการขุดเจาะบ่อบาดาล ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านอื่นอีก เช่น ต้องศึกษาปริมาณน ้าทั้งหมดที่มี

                  อยู่ในหินอุ้มน ้า ซึ่งได้จากการค านวณจ านวนเปอร์เซ็นต์ของช่องว่างในหิน ความพรุนของหิน เป็นต้น

                  ซึ่งต้องด าเนินการศึกษาโดยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86