Page 80 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 80

3-35






                          5) น ้าใต้ดิน
                            (1)  แหล่งน ้าใต้ดิน

                              น ้าใต้ดินเป็นหนึ่งในสามประเภทของแหล่งน ้าตามธรรมชาติ (น ้าฟ้า น ้าผิวดิน และ

                  น ้าใต้ดินโดยในหัวข้อนี้จะพิจารณาเฉพาะน ้าบาดาลซึ่งเกิดจากน ้าบางส่วนที่เหลือจากการกักเก็บที่ผิวดิน
                  ไหลซึมลงไปใต้ดินไปถูกกักเก็บไว้ทั้งในดินและในหิน ชั้นดินหรือหินส่วนนี้ไม่มีน ้าอยู่เต็มทุก

                  ช่องว่าง หินส่วนล่างซึ่งอยู่ใต้ระดับน ้าใต้ดินลงไป และมีน ้าบรรจุอยู่เต็มทุกช่องว่างเรียกว่า โซนอิ่มตัว

                  ด้วยน ้า ซึ่งถือเป็นแหล่งน ้าบาดาล หินที่เป็นแหล่งน ้าบาดาลนี้เรียกรวมๆว่าหินอุ้มน ้า (เจริญ, 2540)

                        จากข้อมูลของกรมทรัพยากรน ้าบาดาล (2560) พบว่า ลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่สรวยมีชั้นหิน
                  อุ้มน ้าจ านวน 7 ประเภท (รูปที่ 3-4 ) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                            (1.1) ชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคเก่า มีเนื้อที่ประมาณ 476 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.17

                  ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
                            (1.2) ชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคใหม่ พบบริเวณตอนใต้ของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา

                  มีเนื้อที่ประมาณ 765 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (1.3) ชั้นหินอุ้มน ้าหินแกรนิต พบบริเวณด้านตะวันตกของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่
                  ประมาณ 94,256 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 34.52 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (1.4) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชั้นกึ่งแปรอายุเพอร์เมียน คาร์บอนิเฟอรัส พบบริเวณในช่วง

                  ระหว่างชั้นหินอุ้มน ้าหินแปรและชั้นหินอุ้มน ้าหินภูเขาไฟ มีเนื้อที่ประมาณ 26,082 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                  9.55 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (1.5) ชั้นหินอุ้มน ้าหินแปรอายุดิโวเนียน แคมเบียน ซึ่งเป็นชั้นหินอุ้มน ้าที่พบมาก

                  ที่สุดโดยเฉพาะบริเวณตอนบนและตอนใต้ของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่ประมาณ 113,678 ไร่ คิดเป็น

                  ร้อยละ 41.63 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
                            (1.6) ชั้นหินอุ้มน ้าหินภูเขาไฟ พบบริเวณด้านตะวันออกของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มี

                  เนื้อที่ประมาณ 36,751 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.46 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (1.7) ชั้นหินอุ้มน ้าหินคาร์บอเนตอายุเพอร์เมียน มีเนื้อที่ประมาณ 1,054 ไร่ คิดเป็นร้อย
                  ละ 0.39 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (2) คุณภาพน ้าใต้ดิน

                              ในการศึกษาคุณภาพน ้าใต้ดินของลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่สรวยพิจารณาจาก ปริมาณ

                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากมีขนาดเล็กมาก หรือเกลือแร่
                  ต่างๆ ทุกชนิดที่สามารถละลายได้เมื่อมีค่าสูงแสดงว่ามีเกลือแร่สูง Total Dissolved (TDS) มีหน่วย

                  เป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเป็นตัวชี้วัดดัชนีคุณภาพน ้าเพื่อที่จะใช้บริโภคโดยมีค่าไม่เกิน 500
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85