Page 136 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 136

4-19






                            1)  เขตพื้นที่ป่ าไม้ มีเนื้อที่ 265,358 ไร่ หรือร้อยละ 97.18 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา ซึ่งเป็น

                  เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ทั้งหมด

                              (1) เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ มีเนื้อที่ 264,417 ไร่ หรือร้อยละ 96.83 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                              (2) เขตพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ 942 ไร่ หรือร้อยละ 0.34 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา
                            2)  เขตเกษตรกรรม มีเนื้อที่ 1,049 ไร่ หรือร้อยละ 0.38 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา แบ่งออกเป็น 4

                  เขต คือ

                              (1) เขตเกษตรพัฒนา มีเนื้อที่ 830 ไร่ หรือร้อยละ 0.30 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                              (2) เขตเกษตรก้าวหน้า มีเนื้อที่ 92 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา
                              (3) เขตเร่งรัดต้องจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีเนื้อที่ 90 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของ

                  เนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                              (4) เขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอกเขตป่าตามกฎหมาย มีเนื้อที่ 36 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของ
                  เนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                            3)  เขตชุมชน มีเนื้อที่ 4,171 ไร่ หรือร้อยละ 1.53 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขาแบ่งออกเป็น 2 เขต

                              (1) เขตชุมชน มีเนื้อที่ 4,088 ไร่ หรือร้อยละ 1.50 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา
                              (2) เขตอุตสาหกรรม มีเนื้อที่ 83 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                            4)  เขตแหล่งน ้า มีเนื้อที่ 2,481 ไร่ หรือร้อยละ 0.91 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                              จากการก าหนดเขตการใช้ที่ดินเพื่อกิจกรรมต่างๆ ของลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่สรวย พบว่าเขต
                  พื้นที่ป่าไม้มีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาคือ เขตชุมชน ดังนี้การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน

                  พื้นที่ลุ่มน ้าสาขาต้องเน้นการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้เป็นส าคัญซึ่งเป็นแหล่งก าเนิดของต้น

                  น ้าล าธาร ควบคู่ไปกับการด าเนินการพัฒนา ปรับปรุง และแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของ
                  ทรัพยากรในพื้นที่เขตเกษตรกรรม รวมทั้งอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรดินและน ้า เพื่อให้สามารถใช้ที่ดินเพื่อ

                  เกษตรกรรมได้อย่างยั่งยืนต่อไป โดยการก าหนดแนวทางการพัฒนาและการจัดการพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา
                  ตลอดจนมาตรการด าเนินงานในภาพรวมเพื่อให้แนวทางการพัฒนาและการจัดการที่ก าหนดขึ้น

                  สามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นดี
                  โดยมาตรการที่ก าหนดขึ้น ได้แก่ มาตรการด้านบริหารจัดการมาตรการด้านทรัพยากรดินและการใช้

                  ที่ดิน ด้านทรัพยากรป่าไม้ ด้านทรัพยากรน ้าเป็นต้น เพื่อให้การพัฒนาพื้นที่ลุ่มน ้าสาขาบรรลุตาม

                  เป้าหมายที่ก าหนดไว้
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141