Page 123 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 123

4-5





                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1)  ก าหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี้

                  เพื่อน ากลับมาใช้ด้านเกษตรกรรม และพัฒนาพื้นที่ให้เอื้อต่อการฟื้นตัวของป่าไม้ ตลอดจนรณรงค์

                  และสร้างจิตส านึกของชุมชนในการใช้ประโยชน์จากป่าร่วมกัน และให้ความรู้ในการปกป้องรักษา
                  พื้นที่ป่า

                                2)  ด าเนินปลูกป่าไม้ พร้อมทั้งจัดท าระบบอนุรักษ์เพื่อให้พื้นที่ป่าสามารถกลับคืนสู่

                  สภาพป่าสมบูรณ์ได้โดยเร็ว
                                (3) เขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข 2 มีเนื้อที่ 409 ไร่ หรือร้อยละ 0.15

                  พื้นที่เขตนี้อยู่ในเขตป่ าตามกฎหมาย ดังนั้นมาตรการการใช้ที่ดินดังกล่าวควรเป็นไปตามมติ

                  คณะรัฐมนตรี เรื่องมาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน

                  2541 ซึ่งมาตรการการใช้ที่ดินพื้นที่ในเขตนี้อยู่ภายใต้ข้อก าหนดให้เป็นป่ าไม้เพื่อการใช้ประโยชน์
                  ด้านเศรษฐกิจ ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นป่าไม้ที่สมบูรณ์ตามธรรมชาติ ต่อมามีการบุกรุกโดยการตัด

                  ต้นไม้และน าที่ดินมาใช้ประโยชน์ด้านเกษตรกรรม หรือบริเวณที่เป็นดินตื้นซึ่งไม่เหมาะสมต่อการใช้

                  ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมเนื่องจากข้อจ ากัดดังกล่าว ปัจจุบัน พืชที่พบได้แก่ ปลูกข้าวโพด พื้นที่เขตนี้
                  พบอยู่บริเวณกระจายตัวเป็นหย่อมๆ ในทิศใต้ของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา

                                  รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1)  บริเวณพื้นที่ที่ถูกบุกรุกจนหมดสภาพป่าไม้ และเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                  ส าหรับการท าเกษตรกรรม ควรพิจารณาด าเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

                                2)  รณรงค์และสร้างจิตส านึกให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์

                  จากป่าร่วมกัน และให้ความรู้ในการปกป้องรักษาพื้นที่ป่า
                        4.1.2  เขตเกษตรกรรม

                            มีเนื้อที่ 1,049 ไร่ หรือร้อยละ 0.38 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา พื้นที่เขตเกษตรกรรมนี้เป็น

                  บริเวณที่อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมายรวมถึงพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อ
                  เกษตรกรรมส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรกรรม เขตนี้ก าหนดขึ้นมาเพื่อการพัฒนาทางด้าน

                  การเกษตรเป็นหลักเป็นเขตที่มีความส าคัญต่อเศรษฐกิจเกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน

                  ส่วนใหญ่ของลุ่มน ้า สามารถแบ่งพื้นที่ตามความเหมาะสมและศักยภาพของพื้นที่ได้เป็ น

                  7 เขต คือ
                            1)  เขตเกษตรพัฒนา มีเนื้อที่ 830 ไร่ หรือร้อยละ 0.30 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา พื้นที่เขต

                  เกษตรกรรมนี้ เป็นบริเวณที่อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมายหรือเป็นพื้นที่ที่

                  ได้รับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เขตเกษตรกรรมนี้เกษตรกรมีการใช้พื้นที่ด้านการท า
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128