Page 10 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 10

1-2







                  1.2  วัตถุประสงค์

                        1.2.1  ศึกษา วิเคราะห์สถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติ และลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม
                        1.2.2  ประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพและด้านเศรษฐกิจ

                        1.2.3  ก าหนดแผนการใช้ที่ดินตามศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งเสนอมาตรการด้าน

                  การบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน และการพัฒนาการเกษตรให้สอดคล้องกับนโยบายการใช้ที่ดินของรัฐ


                  1.3  ระยะเวลำและสถำนที่ด ำเนินงำน

                        1.3.1  ระยะเวลาด าเนินงาน ตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล การส ารวจภาคสนาม การวิเคราะห์ข้อมูล

                  เพื่อก าหนดแผนการใช้ที่ดิน และการจัดท ารายงาน มีระยะเวลาการด าเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560
                  ถึงเดือนกันยายน 2561

                        1.3.2  สถานที่ด าเนินงาน ลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่สรวย (0304) มีเนื้อที่ 273,060 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่

                  บางส่วนในเขตต าบลป่าแดด ต าบลวารี ต าบลแม่สรวย อ าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย


                  1.4  ขั้นตอนและวิธีด ำเนินงำน

                        1.4.1  วิเคราะห์และชี้ประเด็นปัญหาในภาพรวมที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                  ในพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาที่ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในพื้นที่
                  ลุ่มน ้าสาขา

                        1.4.2  ก าหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีการที่จะน าไปสู่การแก้ไขโดยอาศัยระบบการวิเคราะห์

                  เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงพื้นที่

                        1.4.3  การศึกษา และรวบรวมข้อมูลด้านทรัพยากรต่างๆ ได้แก่ ดิน ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ น ้า
                  ป่าไม้ พืชพรรณ สภาพการใช้ที่ดิน ด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งในภาพรวมและเฉพาะด้าน ตลอดจน

                  นโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีทั้งข้อมูล

                  ทุติยภูมิโดยรวบรวมจากหน่วยงาน เอกสาร ผลงานวิจัยต่างๆ และข้อมูลปฐมภูมิซึ่งได้จากการจัดท า
                  ขึ้นมาเองตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการและส ารวจข้อมูลในภาคสนาม

                        1.4.4  การน าเข้าข้อมูล ได้แก่ การน าเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) เช่น แผนที่ดิน แผนที่สภาพ

                  การใช้ที่ดิน แผนที่การพัฒนาแหล่งน ้าผิวดิน แผนที่ขอบเขตป่าไม้ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี

                  เป็นต้น ท าการเก็บข้อมูลในรูป Digital data โดยใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูล
                  อรรถาธิบาย เช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม และข้อมูลตัวเลขอื่นๆ โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15