Page 92 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 92

3-41





                  ตารางที่ 3-4  (ต่อ)

                                                                         ค่าปัจจัย        ค่าปัจจัย
                                      การใช้ที่ดิน
                                                                      การจัดการพืช  การอนุรักษ์ดินและน ้า

                  ทุ่งหญ้าธรรมชาติ                                        0.015            1.000

                  ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ                           0.048            1.000
                  ไผ่ป่า ไผ่หนาม                                          0.020            1.000

                  โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า          0.000            1.000

                  พื้นที่ลุ่ม เหมืองแร่ บ่อลูกรัง บ่อดิน บ่อทราย ที่ทิ้งขยะ   0.000        1.000

                  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง โรงงาน                     0.000            1.000

                  พื้นที่แหล่งน ้า                                        0.000            1.000

                  ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2545)
                              จากค่าปัจจัยทั้ง 5 ปัจจัยนั้น สามารถน ามาค านวณการสูญเสียดินสอดคล้องตามสมการ

                  การสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation : USLE) โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งแบ่ง

                  ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดินออกเป็น 5 ระดับดังนี้

                               ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน     อัตราการสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี)
                                                      น้อย                         0-2

                                                      ปานกลาง                      2-5

                                                      รุนแรง                       5-15
                                                      มาก                          15-20

                                                      มากที่สุด                    มากกว่า 20


                              ผลจากการประเมินอัตราการสูญเสียดินในลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่กกตอนล่าง (0305) (ตารางที่ 3-5
                  และรูปที่ 3-2 ) พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่ของลุ่มน ้าสาขามีระดับความรุนแรงของการสูญเสียดินน้อย มีเนื้อ

                  ที่734,434 ไร่ หรือร้อยละ 57.15 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา รองลงมามีระดับความรุนแรงของการสูญเสีย

                  ดินปานกลาง มีเนื้อที่ 215,758 ไร่ หรือร้อยละ 16.79 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูก
                  ข้าว พืชไร่และไม้ยืนต้น ไม้ผล และรองลงมาเป็นระดับความรุนแรงของการสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด มี

                  เนื้อที่ 181,145 ไร่ หรือร้อยละ 14.10 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา ซึ่งมีสภาพพื้นที่เป็นลูกเคลื่อนลอนลาดถึง

                  เป็นภูเขาสูงชัน มีการปลูกพืชไร่ และท าไร่หมุนเวียน ส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และสับปะรด

                  พบกระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ลุ่มน ้าสาขาควรจะเร่งรัดให้มีการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน ้าที่
                  เหมาะสม เพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97