Page 25 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 25

2-10





                      2.4.3  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change)

                          เป็นกำรเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิอำกำศเฉลี่ยในพื้นที่หนึ่ง โดยอำศัยกำรวิเครำะห์ข้อมูล

                  กำรเปลี่ยนแปลงจำกกำรเก็บและติดตำมอย่ำงต่อเนื่องเป็นเวลำหลำยสิบปี ลักษณะภูมิอำกำศเฉลี่ย

                  หมำยควำมรวมถึง ลักษณะทั้งหมดที่เกี่ยวกับอำกำศ เช่น อุณหภูมิ ปริมำณน ้ำฝน และลม เป็นต้น
                  (กรมอุตุนิยมวิทยำ, 2561) ซึ่งกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศนี้มีผลกระทบต่อประเทศไทย

                  ในภำพรวมคือ อุณหภูมิและปริมำณน ้ำฝนในฤดูกำลเปลี่ยนไป ปริมำณน ้ำฝนที่เพิ่มขึ้นไม่มำกพอ

                  ที่จะชดเชยกำรสูญเสียน ้ำที่เพิ่มขึ้น เกิดควำมแห้งแล้งมำกขึ้น บริเวณที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นน้อยจะมีฝนตก

                  และมีแนวโน้มเกิดอุทกภัยมำก
                              เมื่อเปรียบเทียบอุณหภูมิ ควำมชื้นสัมพัทธ์ ปริมำณน ้ำฝน และจ ำนวนวันฝนตกเฉลี่ยใน

                  3 ช่วง ในพื้นที่ลุ่มน ้ำสำขำน ้ำแม่กกตอนล่ำง พบว่ำ ช่วงที่ 3 (2551-2560) มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีและ

                  ควำมชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปีสูงที่สุด ส่วนกำรกระจำยตัวของฝนมีกำรเปลี่ยนแปลง พบว่ำ ช่วงที่ 3 มี
                  ปริมำณน ้ำฝนเฉลี่ยต่อปีและจ ำนวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยสูงที่สุด โดยปริมำณฝนเฉลี่ยรำยเดือนของทั้ง 3

                  ช่วง สูงที่สุดในเดือนสิงหำคม ซึ่งช่วงที่ 1 และ 3 มีจ ำนวนวันที่ฝนตกสูงที่สุดในเดือนสิงหำคม ส่วน

                  ช่วงที่ 2 มีจ ำนวนวันที่ฝนตกสูงที่สุดในเดือนกันยำยน
                            ดังนั้นแสดงให้เห็นว่ำลุ่มน ้ำสำขำน ้ำแม่กกตอนล่ำง ในปัจจุบันมีแนวโน้มอุณหภูมิสูงขึ้น

                  และมีควำมชื้นสัมพัทธ์สูงขึ้นส่งผลต่อกำรระเหยของน ้ำมำกขึ้น ส่วนแนวโน้มกำรกระจำยตัวของฝนนั้นมี

                  กำรกระจุกตัวของฝนสูงในช่วงฤดูฝน

                      2.4.4  สมดุลของน ้าเพื่อการเกษตร
                          เป็นกำรวิเครำะห์หำช่วงฤดูกำลเพำะปลูกในฤดูฝนที่เหมำะสม ช่วงระยะเวลำที่พืชเสี่ยง

                  ต่อกำรขำดน ้ำ ซึ่งต้องหลีกเลี่ยงกำรปลูกพืช เมื่อจัดหำน ้ำไว้ให้พืชได้ไม่เพียงพอ ข้อมูลที่น ำมำ

                  วิเครำะห์ คือ ปริมำณน ้ำฝน ค่ำกำรระเหยและกำรคำยน ้ำอ้ำงอิง (ETo) จำกตำรำงที่ 2-1 ค่ำ ETo
                  ค ำนวณโดยใช้สมกำร Penman-Monteith จำกกำรวิเครำะห์ สำมำรถสรุปสมดุลของน ้ำเพื่อกำรเกษตร

                  ลุ่มน ้ำสำขำน ้ำแม่กกตอนล่ำง ได้ดังนี้ (รูปที่ 2-4)

                            1) ช่วงระยะเวลำที่เหมำะสมต่อกำรปลูกพืช โดยฝนเริ่มตกจนกระทั่งฝนใกล้หมดมี
                  ควำมชื้นพอเหมำะต่อกำรปลูกพืช ช่วงระยะเวลำนี้ เริ่มตั้งแต่ประมำณปลำยเดือนมีนำคมถึงปลำยเดือน

                  ตุลำคม ลักษณะภูมิอำกำศในช่วงระยะเวลำนี้มีลักษณะ ดังนี้

                                อุณหภูมิเฉลี่ย                       26.44  องศำเซลเซียส

                                ควำมชื้นสัมพัทธ์                     73.00  เปอร์เซ็นต์
                                จ ำนวนวันที่ฝนตก                    104.50  วัน

                                กำรระเหยและกำรคำยน ้ำอ้ำงอิง        970.78  มิลลิเมตร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30