Page 163 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 163

4-11





                                3) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต

                  เพื่อให้มีการอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ การปรับปรุงขบวนการและขั้นตอนการผลิต

                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้สูงขึ้น
                                4) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร เพื่อเพิ่มอ านาจการ

                  ต่อรองในการขายผลผลิตให้ได้ราคายุติธรรม

                            3)  เขตเร่งรัดพัฒนาการเกษตรมีเนื้อที่ 46,945 ไร่ หรือร้อยละ 3.65 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                  เป็นพื้นที่ท าการเกษตรโดยอาศัยน ้าฝนในการเพาะปลูกบริเวณที่มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีการ
                  เพาะปลูกข้าวพื้นที่ดอนปลูกพืชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้น ดินมีความเหมาะสมน้อยส าหรับการท า

                  การเกษตร ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่า บางแห่งเป็นดินตื้นและมีกรวดหินปะปนมาก การเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพการผลิตท าได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากมีข้อจ ากัดหลายด้าน เป็นเขตที่มีปัญหาด้านความ

                  เสื่อมโทรมของทรัพยากร รัฐจึงควรก าหนดให้เป็ นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัดฟื้ นฟู
                  ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้นเขตเร่งรัดพัฒนาการเกษตรสามารถ

                  แบ่งได้เป็น 3 เขตย่อย คือ

                                (1) เขตท านา 3 มีเนื้อที่ 1,307 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา สภาพ
                  พื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบมีเนื้อดินเป็นดินร่วน เป็นดินลึกมาก มีการระบาย

                  น ้าค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่า หรือสภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ

                  ถึงเนินเขา ดินที่เป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้น เนื้อดินเป็นดินเหนียว การระบายน ้าดีและดีปานกลาง ในหน่วย
                  ที่ดินที่มีการท าคันนาเพื่อท านา ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่า  ไม่มีความเหมาะสมส าหรับการท านา ส่วน

                  ใหญ่พบในเขตอ าเภอเมืองเชียงราย อ าเภอเวียงชัย อ าเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย

                                  รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1)  ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก หรือปุ๋ ย
                  พืชสด เพื่อช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืช ร่วมกับการ

                  ใส่ปุ๋ ยวิทยาศาสตร์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม

                                2)  พัฒนาแหล่งน ้าเพิ่มเติม เช่น บ่อน ้าขนาดเล็กในไร่นา รวมทั้งปรับปรุงแหล่ง
                  น ้าตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน ้าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืชเพื่อลดความเสียหายจากกรณี

                  ฝนทิ้งช่วง

                                3)  คัดเลือกข้าวพันธุ์ดีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และท าการเกษตรโดยยึดแนวทาง

                  เกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่และเกษตรพอเพียงเพื่อการค้าและการบริโภค
                              (2) เขตปลูกพืชไร่/ไม้ผล มีเนื้อที่ 33,726 ไร่ หรือร้อยละ 2.62 ของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา

                  สภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบถึงเนินเขา เนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินร่วนปนดิน
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168