Page 115 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 115

3-67



                                เขตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C)

                                      -พื้นที่เกษตรกรรม เนื้อที่ 175,435 ไร่ หรือร้อยละ 13.65 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                  พบพื้นที่เกษตรกรรมดังกล่าวส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด ข้าว สับปะรด และยางพารา
                                -พื้นที่ป่าไม้ เนื้อที่ 321,628 ไร่ หรือร้อยละ 25.03 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า จ าแนก

                  เป็น ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู ป่าผลัดใบสมบูรณ์ และป่าปลูกสมบูรณ์

                                -พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ไม้ละเมาะ แหล่งน ้า เนื้อที่
                  13,570 ไร่ หรือร้อยละ 1.06 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                                เขตพื้นที่ป่าเพื่อการเกษตร (โซน A)

                                      -พื้นที่เกษตรกรรม เนื้อที่ 5,997 ไร่ หรือร้อยละ 0.47 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า พบ

                  พื้นที่เกษตรกรรมดังกล่าวส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด และลิ้นจี่
                                -พื้นที่ป่ าไม้ เนื้อที่ 504 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า จัดเป็นป่ า

                  ปลูกสมบูรณ์

                                -พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ไม้ละเมาะ แหล่งน ้า เนื้อที่
                  1,598 ไร่ หรือร้อยละ 0.12 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                                เขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E)

                                      -พื้นที่เกษตรกรรม เนื้อที่ 56,942 ไร่ หรือร้อยละ 4.42 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า พบ

                  พื้นที่เกษตรกรรมดังกล่าวส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด ข้าว สับปะรด และยางพารา
                              -พื้นที่ป่าไม้ เนื้อที่ 21,656 ไร่ หรือร้อยละ 1.69 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า จ าแนกเป็น

                  ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู และป่าปลูกสมบูรณ์

                                -พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ไม้ละเมาะ แหล่งน ้า เนื้อที่
                  13,174 ไร่ หรือร้อยละ 1.03 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                                (2) พื้นที่นอกเขตป่าไม้ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี

                                -พื้นที่เกษตรกรรม เนื้อที่ 333,193 ไร่ หรือร้อยละ 25.93 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า พบ
                  พื้นที่เกษตรกรรมดังกล่าวส่วนใหญ่ปลูกนาข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลังสับปะรด และยางพารา

                                -พื้นที่ป่ าไม้ เนื้อที่ 23,282 ไร่ หรือร้อยละ 1.81 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า จ าแนก

                  เป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์ และป่ารอสภาพฟื้นฟู

                                -พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ไม้ละเมาะ แหล่งน ้า เนื้อที่
                  147,529ไร่ หรือร้อยละ 11.48 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120