Page 110 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 110

3-62





                          7)  การประเมินความต้องการน ้าเพื่อกิจกรรมต่างๆ

                              (1) ความต้องการน ้าของพืช หรือปริมาณการใช้น ้าของพืช

                                ความต้องการน ้าของพืชแต่ละชนิด ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศในแต่ละพื้นที่

                  และระยะเวลาการเจริญเติบโตของพืชชนิดนั้นๆ ในสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง พืชต้องการน ้า
                  มากกว่าในสภาพอากาศที่เย็นและชื้น ดังนั้นความต้องการน ้าของพืชจึงมีความสัมพันธ์กับค่าการระเหย

                  และการคายน ้าอ้างอิง (ETo) ส าหรับแต่ละช่วงของการเจริญเติบโต พืชก็ต้องการน ้าในอัตราที่แตกต่างกัน

                                ความต้องการน ้าของพืช ค านวณจากสูตร
                                            ET  =  Kc x ETo

                                  โดย  ET  =  ปริมาณการใช้น ้าของพืช (มม.)

                                            Kc  =  สัมประสิทธิ์การใช้น ้าของพืช
                                            ETo  =  การระเหยและการคายน ้าอ้างอิง

                  (รายละเอียดในบทที่ 2 และตารางที่ 2-1) ค่าสัมประสิทธิ์ การใช้น ้าของพืช ใช้ข้อมูลจากกรม
                  ชลประทาน (2554ก) รายละเอียดความต้องการน ้าของพืชแสดงไว้ในตารางที่ 3-11

                              (2) ความต้องการน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค

                                ประเมินความต้องการน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภครายปี จากอัตราการใช้น ้าของ
                  ประชากรต่อคนต่อปีคูณด้วยจ านวนประชากรในปี 2560 โดยแบ่งจ านวนประชากรตามประเภทชุมชน

                  เพื่อเป็นฐานการค านวณ ชุมชนในลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่กกตอนล่างเป็นชุมชนในเขตเทศบาล มีจ านวน

                  ประชากร 120,685  คน และชุมชนนอกเขตเทศบาล มีจ านวนประชากร 146,460  คน ซึ่งมีอัตราการใช้
                  น ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค (กรมชลประทาน, 2554ข) ดังนี้

                              ชุมชนในเขตเทศบาล (จ านวนประชากรมากกว่า 50,000 คน) อัตราการใช้น ้า 300

                  ลิตรต่อคนต่อวัน
                              ชุมชนชนบท (นอกเขตเทศบาล) อัตราการใช้น ้า 50 ลิตรต่อคนต่อวัน

                  สามารถประเมินความต้องการน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภคในลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่กกตอนล่าง
                  ได้เท่ากับ 15.89 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115