Page 79 - Mae Klong Basin
P. 79

3-45





                  ตารางที่ 16 (ตอ)


                                                      การใชน้ำ    น้ำใชของพืชตลอดอายุ (โดยประมาณ)
                   ลำดับที่      ชื่อพืช     อายุพืช
                                                      ของพืช           ประสิทธิภาพการชลประทาน
                                              (วัน)   (มม./วัน)         100%               50%

                                                                    ลูกบาศกเมตร/ไร   ลูกบาศกเมตร/ไร
                     29    ผักกาดหัว           45      4.0-4.4          285-315           570-630

                     30    ขาวโพดฝกออน      65      4.8-5.2          440-485           880-970
                     31    มันเทศ             125      4.7-5.2          715-785          1,430-1,570
                     32    ลำไย (ตนเล็ก)     365      3.7-4.1         2,160-2,395       4,320-4,790
                     33    ลำไย (ตนใหญ)     365       6.8-7.5       3,970-4,380        7,940-8,760

                     34    มะมวง (ตนเล็ก)    365     7.6-8.4         4,440-4,905       8,880-9,810
                  ที่มา : กรมชลประทาน (2554)

                        ความตองการน้ำเพื่อโครงการชลประทาน

                        จากการรวบรวมและทบทวนผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาโครงการจัดทำแผนรวมการ
                  บริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง กรมทรัพยากรน้ำ (2546) พบวา
                  ความตองการน้ำเพื่อการชลประทาน ประกอบดวย ความตองการน้ำเพื่อโครงการชลประทานขนาดใหญ
                  ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สูบน้ำดวยไฟฟา และพื้นที่ชลประทานราษฎร โดยผลการประเมินความตองการ
                  น้ำเพื่อโครงการชลประทานประเภทตาง ๆ แสดงดังตารางที่ 3-17


                  ตารางที่ 3-17 ความตองการน้ำเพื่อโครงการชลประทานประเภทตาง ๆ

                                                              พื้นที่ชลประทาน      ความตองการน้ำ
                            ประเภทโครงการชลประทาน
                                                                   (ไร)           (ลาน ลบ.ม./ป)

                   ขนาดใหญ                                    1,032,900             1,665.12
                   ขนาดกลาง ขนาดเล็ก และสูบน้ำดวยไฟฟา        1,322,635             1,720.01
                   ชลประทานราษฎร                                955,035             1,218.43
                   รวม                                         3,310,570             4,603.56

                  ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำ (2546)

                        3.6.2 โครงการพัฒนาแหลงน้ำใตดิน
                            น้ำใตดินหรือน้ำบาดาล (groundwater) หมายถึง น้ำที่ขังอยูในชองวางของดินหรือหิน
                  และยังหมายถึงน้ำที่ไหลอยูภายในชั้นหินอุมน้ำ หรือชั้นน้ำ (Aquifer) ซึ่งอยูต่ำกวาระดับน้ำใตดิน

                  (water table) เปนน้ำจืดอีกแหลงที่มนุษยนำมาใชในการอุปโภคและบริโภค ซึ่งแหลงน้ำใตดินที่
                  เกษตรกรนำมาใชเรียกวา น้ำบาดาล คือ น้ำใตดินที่อยูลึกลงไปในดิน 150 - 200 เมตร ซึ่งขังอยูในชั้นของทราย
                  เปนอางที่เก็บน้ำไวไดเปนปริมาณมาก น้ำพุและน้ำบาดาลเปนน้ำสะอาด ไมมีเชื้อโรค เพราะน้ำทั้งสอง

                  ชนิดนี้ไหลซึมผานผิวดินลงไปในระดับลึก ดินจะทำหนาที่เปนตัวกรองเอาสารที่แขวนลอยอยูในน้ำและ







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84