Page 54 - Mae Klong Basin
P. 54

3-20





                  ทำใหพื้นที่มีลักษระเปนอางชั่วคราว น้ำที่ลนออกมานี้ยังไหลเขาไปตามคูคลองตาง ๆ ทำใหบริเวณพื้นที่

                  ดังกลาวเกิดสภาวะน้ำทวมปละไมต่ำกวา 2 ครั้ง กอใหเกิดความเสียหายตอพืชผลซึ่งราษฏรไดเพาะปลูก
                  ไวเปนประจำ ในบริเวณที่มีทางรถไฟและทางหลวงจังหวัดอยูริมฝงซายของแมน้ำและมีภูเขาอยูทางฝงขวา
                  ทางน้ำในบริเวณดังกลาวจะมีลักษระเปนคอคอด เมี่อเกิดสภาวะน้ำทวมทนในลำน้ำแมกลอง น้ำจะไหล

                  ไปสูที่ลุมทางฝงขวาของจังหวัดที่เรียกวาทุงเขางู ทำใหไมสามารถทำการเพาะปลูกได ตองเปลี่ยนมาทำ
                  นาปรังหลังจากน้ำทวมทุกครั้ง
                            แมน้ำแควนอย เปนแมน้ำใหญอีกสายหนึ่งของประเทศไทย ความยาวตลอดลำน้ำ 320
                  กิโลเมตร มีพื้นที่รับน้ำรวม 10,640 ตารางกิโลเมตร แมน้ำแควนอยเกิดจากเทือกเขาตะนาวศรี

                  ซึ่งเปนเสนกั้นพรมแดนดานตะวันตกระหวางประเทศไทยและสหภาพพมา แมน้ำแควนอยตอนบนมีลำน้ำ
                  สำคัญ 3 สาย ไหลมารวมกันที่สามสบ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี คือ ลำน้ำบีคีใหญ ลำน้ำซองกาเลีย
                  และลำน้ำรันตี สวนทางดานทายน้ำ มีลำน้ำสาขาที่สำคัญคือ หวยแมน้ำนอย หวยบองตี้ หวยแมกระบาน
                  และลำภาชี เปนตน ลำน้ำบีคี่ใหญ กำเนิดจากเทือกเขาตะนาวศรีที่พรมแดนไทย-พมา ในเขตอำเภอทองผาภูมิ

                  ลำน้ำไหลขึ้นไปทางทิศเหนือคอนไปทางทิศตะวันออก ผานเขาปลอยลำปลอก เขาเขตอำเภอสังขละบุรี
                  ชางนี้มีลำน้ำสาขาที่สำคัญคือ ลำน้ำบีคี่ ซึ่งกำเนิดจากเทือกเขาตะนาวศรี ที่พรมแดนไทย-พมา
                  เชนเดียวกัน แตอยูในเขตอำเภอสังขละบุรี ไหลมาทางทิศตะวันตกสมทบกับลำน้ำบีคี่ใหญ ที่บานมอญ
                  น้ำยังคงไหลขึ้นสูทิศเหนือคอนไปทางทิสตะวันออกจนกระทั่งอีกประมาณ 6 กิโลเมตร จะถึง สามสบ

                  ลำน้ำหักเลี้ยวไปทางทิศตะวันออก เรียกวา แมน้ำแควนอย ไหลลงตอนใตตอไป ลำน้ำบีคี่ใหญมีความยาว
                  ประมาณ 70 กิโลเมตร ถือวาเปนตอนตนของแมน้ำแควนอย ลำน้ำซองกาเลีย ไหลจากทิศเหนือลงสูทิศใต
                  มีกำเนิดจากเทือกเขาตะนาวศรี บริเวณดานพระเจดียสามองค มีลำหวยหลายสายไหลมาสมทบลำน้ำ
                  ของกาเลีย ไหลลงใตผานอำเภอสังขละบุรี และไหลลงแมน้ำแควนอยที่สามสบ ลำน้ำรันตี ไหลมาจาก

                  ทิศตะวันออก มีตนกำเนิดจากภูเขากั้นลุมน้ำแควนอยกับแควใหญ ไหลมาบรรจบกับลำน้ำซองกาเลียกอน
                  อีกประมาณครึ่งกิโลเมตร จึงไหลบรรจบเปนลำน้ำแควนอย ภูมิประเทศโดยทั่วไปในลุมน้ำแควนอยเปน
                  ภูเขาใหญนอยเรียงสลับซับซอนและสูงชัน บางแหงเปนหนาผาสูง บางแหงเปนที่ราบ ลำน้ำแควนอยไหล
                  ผานภูมิประเทศที่สวยงาม มีน้ำตก มีหวย และลำธารเล็กๆไหลลงลำน้ำเกือบตลอดสาย สภาพปา

                  สวนใหญเปนปาไมเบญพรรณและปาดงดิบ มีปาไผแซมอยูทั่วไป มีปาสงวนและเขตรักษาพันธุสัตวปา
                  หลายแหง ไดแก ปาสงวนแหงชาติเขาชางเผือก เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร ปาสงวนแหงชาติ
                  หวยเขยง ปาสงวนแหงชาติเขาพระษี เขาบอแร และปาสงวนแหงชาติวังใหญ-แมน้ำนอย

                            แมน้ำแควใหญ เปนลำน้ำสำคัญของจังหวัดกาญจนบุรี ยาวประมาณ 380 กิโลเมตร
                  บริเวณลุมน้ำแควใหญประกอบดวยภูเขาและหุบเขาแคบๆ ตลอดจนที่ราบลุมซึ่งมีหวยละหานและลำธาร
                  หลายสายไหลผาน มีพื้นที่รับน้ำถึง 14,800 ตารางกิโลเมตรตนน้ำแควใหญเกิดจากทิวเขาถนนธงชัย
                  ซึ่งเปนเสนกั้นอาณาเขตระหวางประเทศไทยกับสหภาพพมา ในทองที่อำเภออุมผาง จังหวัดตาก
                  จากนั้นไหลผานเขาสูงและปาทึบลงทางทิศใต เขาเขตจังหวัดกาญจนบุรี ผานเขตอำเภอสังขละบุรี

                  อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอศรีสวัสดิ์ มาบรรจบกับลำน้ำแควนอยที่อำเภอเมืองกาญจนบุรี ตอนที่เรียก
                  กันวาปากแพรก ไดชื่อใหมวา "แมน้ำแมกลอง" แลวจึงไหลผานจังหวัดราชบุรี ลงอาวไทยที่อำเภอเมือง
                  จังหวัดสมุทรสงคราม สภาพภูมิประเทศสองฝงแมน้ำแควใหญเปนปาเขา จึงมีแหลงที่สงวนไวเปนอุทยาน

                  และเขตรักษาพันธุสัตวปาหลายแหง เชน เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง อุทยานแหงชาติเขาสลอบ





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59