Page 46 - Mae Klong Basin
P. 46

3-12


































                  รูปที่ 3-4 สมดุลของน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดตาก ป 2535 – 2564

                        ลักษณะอากาศของจังหวัดกาญจนบุรี อยูภายใตอิทธิพลของมรสุม 2 ชนิด คือ
                  มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ปกคลุมในชวงฤดูหนาว ทำใหจังหวัด
                  กาญจนบุรีประสบกับสภาวะหนาวเย็นและแหง กับมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งพัดปกคลุมในชวงฤดูฝน

                  ทำใหมีฝนและอากาศชุมชื้น พิจารณาตามลักษณะลมฟาอากาศของประเทศไทย แบงฤดูกาลของจังหวัด
                  กาญจนบุรีออกไดเปน 3 ฤดู ดังนี้
                        ฤดูรอน เริ่มเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลงคือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธถึง
                  กลางเดือน พฤษภาคม ในระยะนี้จะมีหยอมความกดอากาศต่ำเนื่องจากความรอนปกคลุมประเทศไทย
                  ตอนบนทำใหมี อากาศรอนอบอาวทั่วไป โดยมีอากาศรอนจัดในเดือนเมษายน
                        ฤดูฝน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เปนชวงที่มรสุมตะวันตกเฉียงใตพัดปก

                  คลุมประเทศไทย รองความกดอากาศต่ำที่พาดผานบริเวณภาคใตของประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมาพาดผาน
                  บริเวณภาคกลางและภาคเหนือเปนลำดับในระยะนี้ ทำใหมีฝนตกชุกขึ้นตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคม
                  เปนตนไป เดือนกันยายนเปนเดือนที่มีฝนตกชุกมากที่สุดในรอบปและเปนชวงที่มีความชื้นสูง
                        ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปนฤดูมรสุม

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่มีคุณสมบัติเย็นและแหงจะแผลงมาปกคลุม
                  ประเทศไทยในชวงนี้แตเนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรีอยูในภาคกลางอิทธิพลของบริเวณความกดอากาศสูง
                  จากประเทศจีนที่แผลง มาปกคลุมในชวงฤดูหนาวจะชากวาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  ทำใหมีอากาศหนาวเย็นชากวา สองภาคดังกลาว โดยเริ่มมีอากาศหนาวประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน
                  เปนตนไป
                        จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดกาญจนบุรี

                  ในรอบ 29 ป (ชวงป พ.ศ. 2535 - 2564) ดังตารางที่ 3-5 ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด
                  อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน น้ำฝนใชการได จำนวนวันฝนตก ความชื้นสัมพัทธ ศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                  อธิบายไดดังนี้






                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51