Page 170 - Mae Klong Basin
P. 170

5-2






                                    (2) ควรมีการบำรุงรักษาสภาพปาธรรมชาติตามหลักวิชาการ

                                    (3) ดำเนินการปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไมทำลายปา
                  ใหมีประสิทธิภาพและมีผลการปฏิบัติอยางตอเนื่อง โดยดำเนินการกับผูกระทำผิดอยางเด็ดขาด
                                    (4) ถาบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจาหนาที่ผูรับผิดชอบในพื้นที่

                  ควรรีบดำเนินการปลูกปาทดแทนโดยเร็ว เพื่อปองกันการขยายพื้นที่ของการบุกรุกตอไป
                                    (5) ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของทรัพยากร
                  ปาไมและมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่
                                2) เขตฟนฟูสภาพปา (หนวยแผนที่ 112)

                                  มีเนื้อที่ 498,892 ไร หรือรอยละ 2.64 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  พื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ตองสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษ ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปน
                  ปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกพื้นที่ โดยการตัดตนไมเพื่อใชประโยชนและนำที่ดิน
                  มาใชดานเกษตรกรรมในระยะเวลาหนึ่ง เมื่อดินเสื่อมสภาพลง ผลผลิตทางการเกษตรกรรมเริ่มลดลง

                  จนไมคุมกับการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกราง แตเนื่องจากพื้นที่นี้มีลูกไม
                  ของพันธุไมดั้งเดิม ซึ่งสามารถเจริญเติบโตและปรับสภาพไดระดับหนึ่ง ถาไมมีการรบกวนพื้นที่ดังกลาว
                  โดยเฉพาะการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาที่เสื่อมโทรมสามารถฟนตัวขึ้นมาเปนปาไม
                  ที่สมบูรณไดอีกครั้ง พื้นที่เขตนี้พบบริเวณทางตอนบนของพื้นที่ลุมน้ำหลัก

                                  แนวทางการพัฒนา
                                  (1) ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน
                  2541 ใหความเห็นชอบกับ “มาตรการและแนวทางแกไขปญหาที่ดินพื้นที่ปาไมและใหดำเนินการตอไป”
                  โดยมุงเนนแกไขปญหาในพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมาย เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา

                  เขตหาม ลาสัตวปาและปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี (พื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 และ ชั้นที่ 2) กำหนดให
                  กรมปาไมสำรวจพื้นที่ที่มีการครอบครองใหชัดเจน
                                  (2) ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน
                  2540 เรื่อง “แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไมระดับพื้นที่” เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน

                  และปาไมอยางมีระบบโดยเปนการอนุรักษควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสงวนรักษาทรัพยากรปาไม
                  ที่เหลืออยูและฟนฟูทรัพยากรปาไมที่เสื่อมสภาพ ทั้งนี้ อยูบนหลักการลดปญหาความขัดแยง
                  การใชทรัพยากรในพื้นที่

                                  (3) ใชมาตรการทางกฎหมายเปนเครื่องมือในการคุมครองและอนุรักษพื้นที่
                  โดยใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการควบคุม ปองกันและปราบปรามการบุกรุกพื้นที่
                  เพื่อนำกลับมาใชเพื่อการเกษตรกรรมอยางเครงครัดและตอเนื่อง โดยมีบทลงโทษตามกฎหมายที่กำหนดไว
                                  (4) หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดทำแนวกันไฟ เพื่อปองกันไฟปาที่อาจเกิดขึ้นได
                  จากธรรมชาติหรือกิจกรรมจากมนุษย เพื่อใหปามีการฟนตัวตามธรรมชาติอยางรวดเร็ว

                                  (5) สงเสริมและรณรงคใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคา
                  ของทรัพยากรปาไม และสรางความตระหนักในการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาในพื้นที่









                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175