Page 150 - Mae Klong Basin
P. 150

4-18





                        สิ่งที่ควรในตัวอยางนี้ และควรทำในโปรแกรมประยุกต คือ กำหนด LU_CODE เปน primary key

                  เพื่อเปนเอกลักษณหลัก ทำใหการเก็บรายละเอียดในฐานขอมูล งายขึ้น การกำหนดหมายเลข
                  เจาะจง สามารถประกันวาไมมีการซ้ำหลายคอลัมน แตเมื่อปรากฎในอีกตารางขอมูล เชน LU_ID_L2 นี้
                  จะอางอิงในฐานะ foreign key

                        Schema ชุดสมบูรณของการออกแบบสำหรับฐานขอมูล เรียกวา schema ของฐานขอมูล
                  สิ่งนี้เกี่ยวของกับพิมพเขียวสำหรับฐานขอมูล schema จะแสดง ตารางขอมูลพรอมกับคอลัมน

                  ประเภทขอมูลของคอลัมน ระบุถึง primary key ของแตละ table และ foreign key โดย schema
                  ไมรวมขอมูลแตอาจจะตองแสดงขอมูลตัวอยางกับ schema เพื่อการอธิบาย schema สามารถแสดงใน
                  ไดอะแกรม ที่กำลังใชในไดอะแกรม entity relationship (ER diagram) หรือในรูปแบบขอความ


                   LU_L1                                Landuse                        LU_L2
                   LU_CODE                           LU_CODE                           LU_CODE
                   LU_ID_L1                          LU_ID_L1                          LU_ID_L1

                   LU_NM_L1                          LU_ID_L2                          LU_ID_L2
                                                                                       LU_NM_L2


                   LU_L3                                                               LU_Intermidiat
                   LU_ID_L2                                                            LU_CODE
                   LU_ID_L3                                                            Description

                   LU_DES_TH                                                           MapUnits
                   LU_DES_EN

                  รูปที่ 4-6 Schema ตัวอยางสภาพการใชที่ดิน

                        ขอความที่ขีดเสนใตใน schema คือ primary key ในตารางขอมูล ขอความที่ขีดเสนประ คือ
                  foreign key ในตารางขอมูล foreign key แสดงความสัมพันธระหวางตารางขอมูล 2 ตาราง
                  ตัวอยางเชน การเชื่อมโยงจาก Landuse มาที่ LU_L2 แสดงความสัมพันธระหวาง แถวในตารางขอมูล

                  Landuse และแถวในตารางขอมูล LU_L2

                        การทำนอรมัลไลเซชัน (Normalization)
                        การทำนอรมัลไลเซชัน เปนวิธีการในการกำหนดแอตทริบิวตใหกับแตละเอนทิตี
                  เพื่อใหไดโครงสรางของตารางที่ดี สามารถควบคุมความซ้ำซอนของขอมูลหลีกเลี่ยงความผิดปกติของขอมูล
                  โดยทั่วไปผลลัพธของการนอรมัลไลเซชัน จะไดตารางที่มีโครงสรางซับซอนนอยลง แตจำนวนของตาราง

                  จะมากขึ้น และนำไปปรับแกไข Schema การทำนอรมัลไลเซชัน ประกอบดวยนอรมัลฟอรม (Normal Form)
                  แบบตาง ๆ ที่มีเงื่อนไขของการทำใหอยูในรูปของนอรมัลฟอรมที่แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับผูออกแบบ
                  ฐานขอมูลวา ตองการลดความซ้ำซอนในฐานขอมูลใหอยูในระดับใด ซึ่งประกอบดวยนอรมัลฟอรมแบบตาง ๆ
                  ดังตอไปนี้







                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155