Page 147 - Mae Klong Basin
P. 147

4-15






                  จะถูกโปรแกรม DBMS นำไปแปล (Compile) เปนการกระทำ (Operation) ตาง ๆ ภายใตคำสั่งนั้น ๆ

                  เพื่อนำไปกระทำกับตัวขอมูลในฐานขอมูลตอไปสวนการทำงานตางๆ ภายในโปรแกรม DBMS
                  ที่ทำหนาที่ในการแปลคำสั่งไปเปนการ กระทำตาง ๆ ดังนี้
                          1) Database Manager เปนสวนที่ทำหนาที่กำหนดการกระทำตางๆ ใหกับสวน File Manager

                  เพื่อไปกระทำกับขอมูลที่เก็บอยูในฐานขอมูล File Manager เปนสวนที่ทำหนาที่บริหาร และจัดการกับ
                  ขอมูลที่เก็บอยูในฐานขอมูลในระดับกายภาพ
                          2) Query Process เปนสวนที่ทำหนาที่แปลงประโยคคำสั่งของ Query Language
                  ใหอยูในรูปแบบของคำสั่งที่ Database Manager เขาใจ

                          3) Data Manipulation Language Precompiler เปนสวนที่ทำหนาที่แปลประโยคคำสั่ง
                  ของกลุมคำสั่ง DML ใหอยูในรูปแบบที่สวน Application Programs Object Code จะนำไปเขารหัส
                  เพื่อสงตอไปยังสวน Database Manager ในการแปลประโยคคำสั่งของกลุมคำสั่ง DML ของ Data
                  Manipulation Language Precompiler นี้ จะตองทำงานรวมกับสวน Query Processor

                          4) Data Definition Language Precompiler เปนสวนที่ทำหนาที่แปลประโยคคำสั่งของ
                  กลุมคำสั่ง DDL ใหอยูในรูปแบบของ Meta Data (รายละเอียดที่บอกถึงโครงสรางตาง ๆ ของขอมูล)
                  ที่เก็บอยูในสวน Data Dictionary ของฐานขอมูล
                          5) Application Programs Object Code เปนสวนที่ทำหนาที่แปลงคำสั่งตาง ๆ ของโปรแกรม

                  รวมทั้งคำสั่งในกลุมคำสั่ง DML ที่สงตอมาจากสวน Data Manipulation Language Precompiler
                  ใหอยูในรูปของ Object Code ที่จะสงตอไปให Database manager เพื่อกระทำกับขอมูลในฐานขอมูล
                        ความสัมพันธ (Relation) คือ คำเรียกตารางในเชิงคณิตศาสตร ระบบเชิงสัมพันธอาศัยตัวแบบ
                  เชิงสัมพันธซึ่งเปนทฤษฎีขอมูลแนวนามธรรม (Abstract theory of data) ตามหลักการของ

                  คณิตศาสตรผูที่วางรากฐานของตัวแบบสัมพันธ (1969-1970) คือ E.F. Codd ปจจุบันแนวคิดของเขา
                  เปนที่ยอมรับกันเปนสากล มีอิทธิพลตอเทคโนโลยีฐานขอมูล ปญญาประดิษฐ, การประมวลผล
                  ภาษาธรรมชาติ และการออกแบบระบบฮารดแวรอีกดวยเรลวาร (Relvar) ยอมาจาก Relation
                  Variables ซึ่งก็คือโครงสรางของตารางนั่นเอง โดยคำวา Variables หมายถึง ชื่อ เขตขอมูลหรือแอตทริบิวต

                  (Attribute) สวนคาหรือขอมูลที่อยูในตารางแตละชองนั้นเรียกวา Relation Values ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ
                  คือ ฐานขอมูลที่ไดรับการใชมากที่สุด โดยขึ้นกับพื้นฐานทางทฤษฎีที่เขมแข็ง ดานพีชคณิตเชิงสัมพันธ
                  ไมมีความจำเปนในการทำความเขาใจทางทฤษฎีความสัมพันธในการใชฐานขอมูลเชิงสัมพันธ

                  แตจำเปนตองเขาใจแนวคิดฐานขอมูลพื้นฐานบางประการ (ญาณวุฒิ และคณะ, 2560) ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ
                  มีลักษณะที่สำคัญอยู 3 ลักษณะคือ 1) ลักษณะทางโครงสราง ผูใชฐานขอมูลเชิงสัมพันธนี้
                  จะรับรูในลักษณะที่วาขอมูลในฐานขอมูลที่อยูในรูปตารางตาง ๆ 2) ลักษณะความถูกตองของตารางตาง ๆ
                  ในฐานขอมูลเชิงสัมพันธจะตองเปนไปตามขอกำหนดเรื่องความถูกตองของขอมูล 3) ลักษณะดานจัด
                  ดำเนินการ ตองมีตัวดำเนินการตางๆ เตรียมไวใหแกผูใชในการสั่งกระทำการใด ๆ กับตารางขอมูล

                  โดยมีตัวดำเนินการสำคัญ อยู 3 ตัว ไดแก (1) Restrict Operation เปนการดึงแถวขอมูลเฉพาะบางแถว
                  ออกมาจากตาราง (2) Project Operation เปนการดึงคอลัมนขอมูลเฉพาะบางคอลัมน
                  ออกมาจากตาราง (3) Join Operation เปนการเชื่อมตารางตั้งแต 2 ตารางขึ้นไปเขาดวยกันโดยมี

                  คาบางคาในคอลัมนตรงกันเปนหลัก





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152