Page 148 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 148

3-92





                  บรรลุผลต่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมของชาติ พื้นที่ลักษณะนี้ ได้แก่
                  พื้นที่ปลูกป่าภาครัฐบาล พื้นที่ปลูกป่าเอกชน และพื้นที่ปลูกป่าเพื่อใช้สอยในครัวเรือน

                              (2.3)  พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตร์ชุมชน หมายถึง พื้นที่ที่ก าหนดไว้เพื่อแก้ไข

                  ปัญหาการบุกรุกท าลายป่าในรูปแบบต่างๆ โดยการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการตั้งถิ่นฐานให้
                  สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การใช้ประโยชน์พื้นที่

                  กระท าในลักษณะของวนเกษตรพื้นที่ลักษณะนี้ ได้แก่ พื้นที่โครงการหมู่บ้านป่าไม้ พื้นที่สิทธิท ากิน

                  (สทก.)พื้นที่โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง และโครงการตามพระราชด าริ
                              (2.4)  พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ หมายถึง พื้นที่ป่ าที่ได้อนุญาตให้ใช้

                  ประโยชน์ร่วมกันระหว่างทรัพยากรป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น แหล่งน ้า และทรัพยากรธรณี เพื่อ

                  ประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พื้นที่ลักษณะนี้ ได้แก่ พื้นที่เขตแหล่งแร่ พื้นที่

                  เขตระเบิดและย่อยหิน พื้นที่ที่อนุญาตให้ส่วนราชการและเอกชนใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ
                            3)  เขตพื้นที่ป่ าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A)

                              เขตพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร หมายถึง พื้นที่ป่าที่มีสมรรถนะที่ดินเหมาะสม

                  ต่อการเกษตร หรือมีศักยภาพสูงในการพัฒนาด้านการเกษตร ตามผลการจ าแนกสมรรถนะที่ดินของ

                  กรมพัฒนาที่ดิน รัฐสามารถพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งต้องไม่อยู่ใน
                  หลักเกณฑ์ที่จะจ าแนกให้เป็นเขตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์และเขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ พื้นที่ลักษณะนี้

                  ได้แก่ พื้นที่ป่าที่มีสมรรถนะของดินเหมาะสมต่อ พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเกษตร ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี

                  เกี่ยวกับการก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน ้า และการจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าชายเลน
                        3.3.3  กฎหมายทางด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                            1)  พระราชบัญญัติป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507

                              ในมาตรา 3 ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ยกเลิกพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า
                  พ.ศ. 2481 พ.ศ. 2496 และ พ.ศ. 2497 ซึ่งได้ใช้ในการสงวนพื้นที่ป่าไม้มาแต่เดิม เนื่องจากป่าไม้เป็น

                  ทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญอย่างยิ่งและรัฐบาลก็ได้มีเป้าหมายไว้ในนโยบายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

                  และสังคมแห่งชาติว่าจะท าการสงวนป่ าไว้เป็ นเนื้อที่ประมาณร้อยละ 50 ของเนื้อที่ประเทศ

                  คือ ประมาณ 156 ล้านไร่ แต่ในความเป็นจริงปรากฏว่า ป่าไม้ที่ท าการสงวนเอาไว้ตามกฎหมายฉบับ
                  เดิมและที่ยังไม่ได้ท าการสงวนได้ถูกบุกรุกท าลายลงไปเป็นจ านวนมาก แม้กระทั่งในพื้นที่ต้นล าธาร

                  ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการพังทลายของดิน ล าน ้าตื้นเขิน หรือเกิดอุทกภัย อันเป็นผลเสียหายต่อ

                  การเกษตรและเศรษฐกิจของประเทศอย่างร้ายแรง กฎหมายฉบับเก่าที่บังคับใช้อยู่มีวิธีการสงวนที่ไม่
                  รัดกุมเหมาะสมใช้เวลาในการด าเนินการนานในการประกาศเขตป่าสงวน ท าให้เกิดการฉวยโอกาสบุก

                  รุกท าลายป่าได้มากยิ่งขึ้น บทลงโทษส าหรับผู้ฝ่าฝืนก็ไม่เหมาะสมกับกาลสมัย ผู้กระท าผิดไม่เข็ดหลาบ
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153