Page 111 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 111

3-55





                            (5.1.11) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชุดล าปาง พบบริเวณตอนบนของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขามีเนื้อที่
                  ประมาณ 38,221 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.19 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (5.1.12) ชั้นหินอุ้มน ้าหินภูเขาไฟ พบบริเวณตอนบนและตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา

                  ในช่วงระหว่างชั้นหินอุ้มน ้าหินชุดโคราชตอนล่าง มีเนื้อที่ประมาณ 74,477 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.27
                  ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                            (5.1.13) ชั้นหินอุ้มน ้าหินแปรอายุแคมเบียน มีเนื้อที่ประมาณ 3,025 ไร่ คิดเป็น

                  ร้อยละ 0.17 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
                            (5.1.14) ชั้นหินอุ้มน ้าหินแปรอายุดิโวเนียน แคมเบียน มีเนื้อที่ประมาณ 392,980 ไร่

                  คิดเป็นร้อยละ 22.51 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า


                              (5.2) คุณภาพน ้าใต้ดิน
                            ในการศึกษาคุณภาพน ้าใต้ดินของลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่ลาวพิจารณาจาก ปริมาณ

                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากมีขนาดเล็กมาก หรือเกลือแร่

                  ต่างๆ ทุกชนิดที่สามารถละลายได้เมื่อมีค่าสูงแสดงว่ามีเกลือแร่สูง Total Dissolved (TDS) มีหน่วย
                  เป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเป็นตัวชี้วัดดัชนีคุณภาพน ้าเพื่อที่จะใช้บริโภคโดยมีค่าไม่เกิน 500

                  มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น ้า (Yield) หรือปริมาณการให้น ้า มี
                  หน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางที่ 3-8  จากการศึกษาพบว่า อัตราการให้น ้า

                  ระหว่าง 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัม

                  ต่อลิตร มีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาเป็นอัตราการให้น ้าน้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณ
                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน ้าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116