Page 108 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 108

3-52





                          4)  คุณภาพน ้าผิวดิน
                            จากรายงานผลการศึกษาคุณภาพแหล่งน ้าผิวดินลุ่มน ้ากก (ส านักงานสิ่งแวดล้อมภาค

                  ที่ 1, 2560) โดยด าเนินการส ารวจและเก็บตัวอย่างน ้าในลุ่มน ้ากกในเขตแม่น ้ากก ปี ละ 4 ครั้ง

                  โดยก าหนดให้ช่วงเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม เป็นช่วงน ้าน้อย และเดือนกรกฎาคม เป็นช่วงน ้ามาก
                  จ านวน 4 สถานีวัด ตรวจวิเคราะห์คุณภาพตัวอย่างน ้า พบว่าคุณภาพน ้าผิวดิน อยู่ในเกณฑ์พอใช้

                  (ตารางที่ 3-7)  จัดอยู่ในแหล่งน ้าผิวดิน (แบ่งตามการใช้ประโยชน์) ประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นแหล่งน ้าที่

                  ได้รับน ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อการอุปโภคและบริโภค โดยต้อง
                  ผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน ้าทั่วไปก่อนนอกจากนี้ยัง

                  สามารถใช้น ้าเพื่อการการอนุรักษ์สัตว์น ้า การประมง การว่ายน ้าและกีฬาทางน ้าได้อีกด้วย

                  โดยคุณภาพน ้าส่วนใหญ่แล้วไม่เกินค่ามาตรฐานที่ก าหนดไว้ โดยค่าออกซิเจนที่ละลายน ้าได้
                  (Dissolved Oxygen Demand) ที่มาตรฐานก าหนดไว้มีค่าไม่น้อยกว่า 6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความ

                  สกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biochemical Oxygen Demand) ที่มาตรฐานก าหนดไว้มีค่าไม่เกิน 1.5

                  มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าแบคทีเรีย กลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) ที่มาตรฐานก าหนด

                  ไว้มีค่าไม่เกิน 5,000 หน่วย ค่าแบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria)  ที่มาตรฐาน
                  ก าหนดไว้มีค่าไม่เกิน 1,000 หน่วย และค่าแอมโมเนีย (Ammonia) ที่มาตรฐานก าหนดไว้มีค่าไม่เกิน

                  0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าคุณภาพน ้ามีแนวโน้มลดลง ทั้งนี้ควรมีการเฝ้าระวังล าน ้าอย่างใกล้ชิด

                  เนื่องจาก มีการพบการปนเปื้ อนของแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (TCB) โดยเฉพาะแบคทีเรีย

                  กลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (FCB) สูงเกินกว่ามาตรฐานที่ก าหนด แสดงถึงการปนเปื้ อนจากอุจจาระของ
                  สัตว์เลือดอุ่นสูง
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113