Page 102 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 102

3-46






                      3.1.2  ทรัพยากรน ้า
                          1) ล าน ้าธรรมชาติที่ส าคัญ

                            ในลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่ลาวมีล าน ้าตามธรรมชาติที่ส าคัญแยกเป็นล าน ้าสายหลักและ

                  ล าน ้าสายรอง (รูปที่ 3-3) มีรายละเอียดดังนี้
                              ล าน ้าสายหลัก ได้แก่ น ้าแม่ลาว

                              ล าน ้าสายรอง ได้แก่ น ้าแม่โต น ้าป่าคัง น ้าแม่ฉางข้าว น ้าแม่ปูนหลวง น ้าแม่ปูนน้อย

                  น ้าแม่ยางมิ้น น ้าแม่พริก และน ้ารองธาร

                          2)  ลักษณะทางกายภาพของลุ่มน ้า
                         (2.1)  รูปร่าง การค านวณหารูปร่างของลุ่มน ้า มี 2 วิธี คือ

                            (2.1.1)  ฟอร์มแฟคเตอร์ (Form Factor, FF) คือ อัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความ

                  ยาวเฉลี่ยของลุ่มน ้า ถ้าค่า FF เท่ากับ 1 รูปร่างของลุ่มน ้านั้นจะเป็นวงกลม ถ้ามีค่าเกิน 1 จะมีรูปร่างคล้าย
                  พัดและถ้ามีค่าน้อยกว่า 1 จะมีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถเขียนสมการค านวณค่า FF ได้ดังนี้

                            (2.1.2) สัมประสิทธิ์ความหนาแน่น (Compactness coefficient, Kc) คือ อัตราส่วน

                  ระหว่างเส้นล้อมรอบพื้นที่ลุ่มน ้า (perimeter) ต่อเส้นรอบวงของวงกลมที่มีเนื้อที่เท่ากับเนื้อที่ลุ่มน ้า

                  ซึ่งสามารถเขียนสมการค านวณค่า Kc ได้ดังนี้

                                  Kc     =         . 0  28 P
                                                     A
                                โดย   P         =    ความยาวเส้นล้อมรอบพื้นที่ลุ่มน ้า (กิโลเมตร)

                                        A         =    เนื้อที่ลุ่มน ้า (ตารางกิโลเมตร)

                                ค่า Kc มีค่าสูงสุดได้เท่ากับ 1 ซึ่งรูปร่างของลุ่มน ้านั้นจะเป็นวงกลม ค่า Kc เพิ่มมากขึ้น

                  รูปร่างของลุ่มน ้าจะมีลักษณะผิดปกติไม่ใช่วงกลม
                              จากการค านวณค่าฟอร์มแฟคเตอร์ และค่าสัมประสิทธิ์ความหนาแน่น พบว่าลุ่มน ้าสาขา

                 น ้าแม่ลาว มีค่าฟอร์มแฟคเตอร์ (FF) เท่ากับ 0.37 และค่าสัมประสิทธิ์ความหนาแน่น (Kc) เท่ากับ 0.51

                 ดังนั้นลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่ลาวจึงมีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยม (Retangular-shaped basin) และมีรูปแบบของ
                 ล าน ้าเป็นแบบ Dendritic ซึ่งล าน ้าจะแตกกิ่งก้านสาขาคล้ายเส้นใบของใบไม้มีทิศทางไม่แน่นอน เป็น

                 ล าน ้าสายสั้นๆ แจกจ่ายน ้าอยู่เป็นจ านวนมากทุกทิศทาง

                              (2.2) ความหนาแน่นของการระบายน ้า (Drainage density, Dd) เป็ นความสามารถ
                 หรือประสิทธิภาพในการระบายน ้าของลุ่มน ้า ในกรณีที่มีเนื้อที่ลุ่มน ้าเท่ากัน โดยทั่วไป ลุ่มน ้าที่มี

                 ความยาวของล าน ้ามาก จะมีความสามารถในการระบายน ้าได้ดีกว่าลุ่มน ้าที่มีล าน ้าน้อย ค่า Dd ค านวณ

                                                    L
                 จากสมการ           Dd      =
                                                    A
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107