Page 49 - Phetchaburi
P. 49

2-29





                                         สถานการณดานราคาขาวนาป ที่เกษตรกรขายได ป 2560-2564 มีแนวโนม

                  เพิ่มขึ้นจาก 8,766 บาทตอตัน ในป 2560 เพิ่มขึ้นเปน 9,038 บาทตอตัน ในป 2564 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ
                  0.81 ตอป (ตารางที่ 2-9)

                  ตารางที่ 2-9 ราคาขาวเปลือกนาปความชื้น 15% ที่เกษตรกรขายได จังหวัดเพชรบุรี ป 2560-2564

                                                                  ราคาขาวเปลือกนาปความชื้น 15%
                                      ป
                                                                     ที่เกษตรกรขายได (บาท/ตัน)

                                    2560                                        8,766

                                    2561                                        9,245

                                    2562                                      10,499
                                    2563                                        9,427

                                    2564                                        9,038

                               อัตราเพิ่ม(รอยละ)                               0.81


                  ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2564)
                                      -  ขาวนาปรัง

                                         สถานการณดานการผลิตขาวนาปรัง ระหวางป 2560-2564 เนื้อที่เก็บเกี่ยว
                  ผลผลิต และผลผลิตตอไร มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกันทั้งหมด โดยเนื้อที่เก็บเกี่ยว เพิ่มขึ้นจาก
                  17,253 ไร ในป 2560 เพิ่มขึ้นเปน 149,617 ไร ในป 2564 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 50.01 ตอป ผลผลิต
                  เพิ่มขึ้นจาก 12,364 ตัน ในป 2560 เพิ่มขึ้นเปน 108,375 ตัน ในป 2564 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 50.33 ตอป

                  และผลผลิตตอไร เพิ่มขึ้นจาก 717 กิโลกรัมตอไร ในป 2560 เพิ่มขึ้นเปน 724 กิโลกรัมตอไร ในป 2564
                  หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 0.18 ตอป เนื่องจากจังหวัดเพชรบุรี มีแผนสงเสริมการปลูกขาวนาปรังในพื้นที่
                  เขตชลประทานตามปริมาณน้ำที่สามารถสนับสนุนใหมีการเพาะปลูกได และพื้นที่นอกเขตชลประทาน
                  ที่มีแหลงน้ำเพียงพอตอการเพาะปลูก ประกอบกับโรงสีมีความตองการขาวเปลือกทำใหเกษตรกรขยาย

                  พื้นที่ปลูกมากขึ้น โดยพันธุขาวที่เกษตรกรสวนใหญปลูก ไดแก พันธุกข. ไมไวแสง ปทุมธานี 1
                  สุพรรณบุรี 1 และราชการไมไวแสง เปนตน ซึ่งเกษตรกรจะเก็บเกี่ยวผลผลิตขาวนาปรังจะเริ่มตั้งแต
                  เดือนกุมภาพันธถึงเดือนสิงหาคม ผลผลิตออกสูตลาดมากที่สุดในเดือนมิถุนายน (ตารางที่ 2-10 และ
                  รูปที่ 2-9)
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54