Page 245 - Phetchaburi
P. 245

ผ-5





                    1.1  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1 หมายถึง พื้นที่มีสภาพเปนตนน้ำลำธารเปนแหลงน้ำฝนและใหน้ำกับพื้นที่

                  ตอนลาง พื้นที่ตอนบนมักมีความชันมาก ลักษณะดินที่งายตอการพังทลายเปนพื้นที่ซึ่งควรรักษาไวเพื่อ
                  เปนตนน้ำลำธารโดยเฉพาะ อาจจะรักษาในรูปของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ ซึ่งในสวนของ
                  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1 ยังแยกเปนชั้นยอยไดอีก 2 ระดับ โดยใช “สภาพปา” เปนตัวกำหนดคือ “พื้นที่ลุมน้ำ

                  ชั้น 1 เอ” จะมีสภาพปาที่ยังอุดมสมบูรณตามที่ปรากฏอยูในป พ.ศ. 2525 และเปนพื้นที่ที่จะตองสงวน
                  รักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ำลำธาร และเปนทรัพยากรปาไมของประเทศ ในขณะที่“พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1 บี”
                  จะมีสภาพปาสวนใหญถูกทำลาย ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอนหนา
                  ป พ.ศ. 2525 และการใชที่ดินรูปแบบตางๆ ที่ดำเนินการไปแลวจะตองมีมาตรการควบคุมเปนพิเศษ

                    1.2  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 2 หมายถึง พื้นที่ลุมน้ำที่มีสภาพเปนพื้นที่ปาปองกัน ปาเพื่อการคาหรือ

                  ปาเศรษฐกิจ ปกติเปนพื้นที่บนที่สูง มีความลาดชันสูงมาก ดินมีประสิทธิภาพในการยึดเกาะกันสูงกวา
                  พื้นที่ลุมน้ำชั้นคุณภาพที่ 1 ลักษณะทั่วไปเหมาะสมตอการเปนตนน้ำลำธารในระดับรองลงมา ควรสงวนเก็บ
                  ไวเปนพื้นที่แหลงตนน้ำลำธาร รักษาไวในรูปแบบของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ
                  และอาจสามารถอนุญาตใหใชประโยชนเพื่อทำกิจการสำคัญบางอยางได เชน การทำเหมืองแร

                    1.3  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 3 หมายถึง สภาพลุมน้ำที่มีสภาพเปนเชิงเขา ความลาดชันสูง ดินมีลักษณะ

                  การพังทลายปานกลาง พื้นที่เหมาะสมเปนปาเศรษฐกิจ ทุงหญาเลี้ยงสัตว ปลูกไมผลยืนตน พืชเกษตร
                  ยืนตนหรือการทำเหมืองแร แตตองมีมาตรการดานการอนุรักษดินและน้ำควบคูกันไปอยางเขมงวด

                    1.4  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 4 หมายถึง พื้นที่ลุมน้ำที่มีสภาพพื้นที่เนินราบ มีความลาดชันปานกลาง สภาพปา
                  สวนใหญถูกแผวถางเพื่อใชเปนพื้นที่ปลูกพืชไร กำหนดใหมีการปลูกพืชไร ไมผลและทำทุงหญาเลี้ยงสัตวได
                  สภาพพื้นที่คอนขางราบบางแหงอาจจะมีความลาดชันแตคอนขางนอย การพังทลายของหนาดินคอนขาง

                  ควบคุมไดงายโดยมีพืชคลุมดิน

                    1.5  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 5 หมายถึง สภาพพื้นที่เปนที่ราบถึงที่ราบลุม หรือบางแหงอาจจะเปนเนินลาดเอียง
                  เล็กนอย สวนใหญปาจะถูกบุกรุกแผวถางไปจนหมดแลวแปรสภาพที่ดินเปนพื้นที่สำหรับทำเกษตรกรรม
                  โดยเฉพาะการทำนา และกิจกรรมอื่นๆ  และไมจำเปนตองมีมาตรการปองกันการชะลางพังทลาย

                  ของหนาดิน
                  2. ขอกำหนดการใชประโยชนของพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำ

                    2.1  ขอกำหนดการใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ำชั้น 1
                        สามารถจำแนกยอยได 2 ชั้นคุณภาพ ไดแก
                        1) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1 เอ ซึ่งจะมีพื้นที่ทั้งปาคอนขางอุดมสมบูรณแผปกคลุมไปทั่วบริเวณ

                  มีขอกำหนดการใชประโยชน ดังนี้
                            (1) หามมิใหเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นที่ปาเปนรูปแบบอื่นอยางเด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อรักษาปาไว
                  เปนพื้นที่ตนน้ำลำธารอยางแทจริง
                            (2) ใหกรมปาไมบำรุงรักษาปาธรรมชาติที่มีอยู และระงับการทำไมโดยเด็ดขาด และ

                  ใหดำเนินการปองกันการลักลอบตัดไมทำลายปาอยางเขมงวดและกวดขัน
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250