Page 37 - Chumphon
P. 37

2-17





                        2.6.2 พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด


                             พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ พืชที่มีอนาคต พืชเสริมรายได และพืชทางเลือก ซึ่งปจจุบันปลูกอยู
                  ในพื้นที่จังหวัดชุมพร และมีศักยภาพในการปลูกในอนาคต ไดแก
                             (1) พืชเศรษฐกิจที่สำคัญและเปนพืชที่มีอนาคตทั้งดานคุณภาพและราคาตลาด เปนพืชอัต
                  ลักษณของจังหวัดชุมพร คือ กลวยเล็บมือนางชุมพร กาแฟเขาทะลุ ขาวเหลืองประทิวชุมพร
                               กลวยเล็บมือนางชุมพร (เลขที่คำขอ 56100097) (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2565)

                  มีลักษณะผลเล็ก ปลายผลเรียว เรียงติดกันคลายนิ้วมือ ผลและเนื้อมีสีเหลืองทอง เปลือกบาง เนื้อนุมรสหวาน
                  มีกลิ่นหอม ลักษณะดินที่เหมาะสมเปนดินรวนปนดินเหนียว มีคาความเปนกรดดางอยูในชวง 5.0 - 6.5
                  มีความอุดมสมบูรณ มีอินทรียวัตถุที่เปนธาตุอาหารที่สำคัญและจำเปนตอกลวยเล็บมือนางชุมพร เชน

                  โพแทสเซียม และฟอสฟอรัส อุณหภูมิเฉลี่ย 27.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดตลอดป 34.8
                  องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปอยูในชวง 1,500 - 2,300 มิลลิเมตรตอป ดวยลักษณะ
                  ภูมิศาสตรดังกลาว ทำใหจังหวัดชุมพรมีความเหมาะสมในการปลูกกลวยเล็บมือนางของจังหวัดชุมพร
                               กาแฟเขาทะลุ (เลขที่คำขอ 59100075) (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2565) เปนกาแฟ

                  สายพันธุโรบัสตา ที่ไดจากผลกาแฟสด ปลูกบนพื้นที่ระดับความสูง 200 - 300 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง
                  ในเขตตำบลเขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ผลสุกสีแดง สารกาแฟสีน้ำตาลออน นำมาผลิตดวยกรรมวิธีมาตรฐาน
                  เปนกาแฟคั่ว กาแฟบด และกาแฟสำเร็จรูป รสชาติขมเขม มีกลิ่นเฉพาะตัว เปนกาแฟคั่วที่มีระดับการคั่ว
                  ตั้งแต การคั่วแบบออน การคั่วแบบกลาง และการคั่วแบบเขม มีคาเฟอีนรอยละ 0.5 - 2.5 ของน้ำหนัก

                  ซึ่งตำบลเขาทะลุ มีสภาพภูมิอากาศแบบพิเศษคือฝนแปดแดดสี่ มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปอยูในชวง
                  1,500 - 2,300 มิลลิเมตรตอป มีสภาพดินที่อุดมสมบูรณดวยแรธาตุเชิงเขา มีมูลคางคาวซึ่งเปนปุยอยาง
                  ดี ประกอบกับการคัดเลือกสายพันธุ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวที่พิถีพิถัน มีกรรมวิธีผลิตที่ไดมาตรฐาน
                               ขาวเหลืองประทิวชุมพร (เลขที่คำขอ 50100041) (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2565)

                  ขาวเจาเหลืองประทิว 123 เปนขาวเจาพันธุพื้นเมืองพันธุหนัก ปลูกไดเฉพาะฤดูนาป ตามระบบการผลิต
                  ขาวอินทรียในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร ปลูกไดดีในพื้นที่ลุมน้ำขัง พื้นที่ที่มีดินเค็มน้ำกรอยหรือพื้นที่ใกล
                  ทะเล ลักษณะภูมิอากาศไดรับมรสุมตะวันตกเฉียงใต ตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และมรสุม

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ มีฝนตกชุกตลอดทั้งป
                               นอกจากนี้ยังมีพืชที่อยูระหวางประกาศโฆษณาการรับขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร คือ กาแฟถ้ำสิงหชุมพร และพืชที่อยูระหวางพิจารณาคำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร ไดแก สับปะรดสวี กลวยหอมทองละแม
                             (2) พืชเศรษฐกิจที่สำคัญและเปนพืชที่มีอนาคตทั้งดานคุณภาพและราคาตลาดของ

                  จังหวัดชุมพร ซึ่งสามารถพัฒนาเปนผลิตภัณฑแปรรูป ไดแก ยางพารา ปาลมน้ำมัน ทุเรียน มะพราว
                  มังคุด เงาะ ลองกอง กาแฟ รวมไปถึงการปศุสัตวและการประมง ในดานการประมง เนื่องจากชุมพรเปน
                  จังหวัดที่มีชายฝงทะเลยาว การทำประมงจึงสำคัญมาก

                             (3) พืชที่จะปลูกตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดแก พืชสมุนไพร
                  พืชหลังนาสรางรายไดผานกลไกสหกรณ และพืชทดแทนพลังงาน
                             (4) พืชเสริมรายได ไดแก พืชผัก ตนผักเหลียง สะตอ ลูกเหนียง กระทอม ฯลฯ
                             (5) พืชทางเลือกเพิ่มเติมในอนาคต คือ โกโก ไผหวาน สมเขียวหวาน สมโอ ฯลฯ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42