Page 232 - Chumphon
P. 232

ผ-4





                                                     ภาคผนวกที่ 2

                                             การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ




                        ประเทศไทยมีการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำหรือการแบงเขตพื้นที่ลุมน้ำตามลักษณะศักยภาพทาง
                  อุทกวิทยา และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู เพื่อประโยชนหลักในดานการจัดการทรัพยากร และ

                  สภาพแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักเกณฑประกอบการพิจารณา 7 ขอดังนี้
                        - สภาพภูมิประเทศ ใชลักษณะของแผนดิน เชน แนวบริเวณสันเขา ยอดเขาแหลม ยอดเขามน
                  หุบเขา หนาผา เชิงเขา บริเวณกัดลึก รองเขา ที่ราบขั้นบันได ที่ราบหรือที่ลุม ซึ่งเปนผลสืบเนื่องจาก
                  กระบวนการชะลางพังทลายในอดีตและมีผลตอการกำหนดการใชประโยชนที่ดิน

                        - ความลาดชัน เปนศักยภาพที่เกี่ยวของกับกระบวนการชะลางและการสูญเสียหนาดิน เชน
                  ถาความลาดชันสูง โอกาสที่มีการพังทลายจะมาก ปริมาณการเคลื่อนยายของตะกอนดินก็มีมากตาม
                        - ความสูงจากระดับน้ำทะเล โดยทั่วไปเมื่อความสูงจากระดับน้ำทะเลมีมาก ความลาดชันของ

                  พื้นที่จะเพิ่มขึ้นดวยและมีปริมาณฝนตกมากและนานขึ้น ความสูงจากระดับน้ำทะเลจึงมีอิทธิพลตอการ
                  พังทลายของหนาดิน มีหนวยที่ยอมรับกันเปนสากลวาใหวัดจากระดับน้ำทะเลปกติแลวใชชื่อเรียกวา
                  ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางมีหนวยเปนเมตร
                        - ลักษณะหิน โดยทั่วไปลักษณะของหินจะเกี่ยวโยงถึงการกำเนิดดินและคุณภาพของน้ำทา จึงใช
                  ชนิดของหิน อายุทางธรณีรวมทั้งคุณสมบัติที่จะแปรสภาพเปนดินที่มีความยากงายตอการถูกชะลาง

                  พังทลาย
                        - ลักษณะดิน โดยทั่วไปดินมีความแตกตางกันไปทั้งดานเคมี ฟสิกส และชีววิทยาสัมพันธตอการ
                  กำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ ใชคุณสมบัติทางดินที่เกี่ยวกับความลึก ความอุดมสมบูรณ และความยากงายตอ

                  การชะลางพังทลายของชนิดดินที่ปรากฏเปนสวนใหญในพื้นที่นั้น ๆ
                        - สภาพของพืชพรรณและปาไม ซึ่งหมายถึงพืชคลุมดินไมวาจะเปนวัชพืช พืชเกษตร พืชปา
                  หญา ตนไมที่เหลืออยูในปจจุบันอาจจะพิจารณาจากรายงานของแผนที่ภาพถายทางอากาศจาก
                  ดาวเทียมที่สำรวจประจำป ซึ่งใหสภาพที่เปนจริงในปจจุบันมากที่สุด พืชคลุมดินดังกลาวจะเกี่ยวพันกับ

                  การชะลางผิวหนาดิน

                  1. การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ
                    การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ นอกจากจะกำหนดขอบเขตความเหมาะสมของพื้นที่เปนหลักและใช
                  ลักษณะทางกายภาพเปนพื้นฐานแลว ยังมีการศึกษาขอมูลดานอื่น ๆ เพิ่มเติมจากขอมูลเบื้องตนที่
                  เกี่ยวของกับสภาพแวดลอม ซึ่งไดแก ปริมาณน้ำปาไม ดิน ตะกอน ขอมูลเศรษฐกิจและสังคม

                  มาใชพิจารณารวมเพื่อชวยใหการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำสมบูรณยิ่งขึ้นจากหลักเกณฑทั้ง 6 ประการ
                  เมื่อนำมาพิจารณากับสภาพพื้นที่แตละแหงของประเทศไทย สามารถจำแนกได 5 ระดับชั้นคุณภาพ
                  โดยใหความสำคัญเรียงลำดับกันไป เพื่อเปนเครื่องมือชวยควบคุมระบบนิเวศและการใชประโยชนที่ดินใน

                  แตละชั้นคุณภาพลุมน้ำ ซึ่งแตละชั้นคุณภาพมีลักษณะพื้นฐานดังนี้
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237