Page 13 - Nongbualamphu
P. 13

1-3





                  1.3  ขอบเขตกำรด ำเนินงำน

                      การด าเนินงานศึกษาเพื่อจัดท าแผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                  (ตุลาคม 2564 - กันยายน 2565) มีขอบเขตดังนี้

                      1.3.1 ศึกษา ทบทวน นโยบาย กฎหมาย มาตรการ และกรอบการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องด้าน
                  การใช้ที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อเป็นกรอบแนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู

                      1.3.2 ศึกษา ทบทวนสถานการณ์ทรัพยากรดินและการบริหารจัดการที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู
                      1.3.3 ศึกษา วิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน และประเมินความเหมาะสมที่ดินกับพืชเศรษฐกิจของ

                  จังหวัด

                      1.3.4 ศึกษา วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมพืชเศรษฐกิจทางเลือกที่เหมาะสมกับศักยภาพและ
                  สมรรถนะของดินและที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู

                      1.3.5  การจัดท าแผนการใช้ที่ดิน โดยระบบการวิเคราะห์ DPSIR และหลักการวางแผนตามระบบ

                  องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organisation of the United
                  Nations: FAO)


                  1.4  กรอบแนวคิดในกำรด ำเนินงำน

                        จังหวัดหนองบัวล าภูตั้งอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนประเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่

                  ราบสูง บางส่วนเป็นพื้นที่ลูกคลื่น ลอนตื้นถึงลอนลึก ดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทรายและลูกรังไม่สามารถ
                  เก็บน้ าหรืออุ้มน้ า เป็นจังหวัดที่มีอากาศบริสุทธิ์อยู่ทั่วไป เนื่องจากไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ

                  และไม่มีปัญหาการจราจร บรรยากาศเหมาะส าหรับการพักผ่อนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ด้วยปัจจัย

                  ด้านที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพ ส่งผลให้สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภูมีอย่างหลากหลาย
                  ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ เป  นที่ตั้งของป่าสงวนแห่งชาติ 6 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 1 แห่ง พื้นที่เกษตร พืชเศรษฐกิจ

                  ที่ส าคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว ข้าวจ้าว อ้อยโรงงาน มันส าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง และผลไม้ต่างๆ

                  โดยมียางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจตัวใหม่
                        สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป การพัฒนาความก้าวหน้า และความเจริญในทุกๆ ด้านที่เกิดขึ้นหลากหลาย

                  และซับซ้อนมากขึ้น ท าให้ความเสี่ยงต่อสาธารณภัยมีแนวโน้มที่จะทวีความถี่และมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ท าให้
                  ทราบถึงพื้นที่ ระดับความเสี่ยง และปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดความเสี่ยงในพื้นที่ ปัจจัยเหล่านี้จะได้ประมวลเข้า

                  ไว้ภายใต้กรอบแนวคิดการด าเนินงานจัดท าแผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู ที่สอดคล้องกับบริบท
                  การพัฒนายั่งยืนระดับพื้นที่เชิงบูรณาการ และสอดคล้องกับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

                  พ.ศ. 2560 มาตรา 72(1) ก าหนด “การวางแผนการใช้ที่ดินของประเทศไทยให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ

                  ศักยภาพของที่ดิน ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน” (รูปที่ 1-1)
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18