Page 63 - Lamphun
P. 63

3-23






                                3) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2 เป็นพื้นที่มีความลาดชันค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมต่อการเป็น

                  ป่าต้นน้ าล าธาร และสามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อกิจการที่ส าคัญ เช่น การท าเหมืองแร่ สวนยางพารา
                  หรือพืชที่มีความมั่นคงต่อเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ 396,337 ไร่ หรือร้อยละ 14.07 ของเนื้อที่จังหวัด
                                4) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 เป็นพื้นที่มีความลาดเทสูง สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจกรรมท าไม้

                  เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึกควรปลูกไม้ผล หรือ
                  ไม้ยืนต้น แต่ถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินตื้นควรปลูกป่าและทุ่งหญ้า มีเนื้อที่ 397,887 ไร่ หรือร้อยละ 14.13
                  ของเนื้อที่จังหวัด
                                5) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 เป็นพื้นที่มีความลาดชันต่ า และป่าถูกบุกรุกเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์
                  เพื่อกิจการท าไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้ โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึก และมี

                  ความลาดชันมากควรปลูกไม้ผล แต่ถ้าเป็นบริเวณที่มีความลาดชันน้อยจะใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกพืชไร่ได้
                  มีเนื้อที่ 720,701 ไร่ หรือร้อยละ 25.59 ของเนื้อที่จังหวัด
                                6)  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ 699,191 ไร่ หรือร้อยละ 24.83 ของเนื้อที่

                  จังหวัด
                                7) แหล่งน้ า มีเนื้อที่ 16,314 ไร่ หรือร้อยละ 0.58 ของเนื้อที่จังหวัด


                  ตารางที่ 3-8 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ าในพื้นที่จังหวัดล าพูน

                                                                              เนื้อที่
                              ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า
                                                                    ไร่                  ร้อยละ
                          พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1A                  559,631                  19.87

                          พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1B                    26,115                  0.93

                          พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2                   396,337                  14.07
                          พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3                   397,887                  14.13

                          พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4                   720,701                  25.59

                          พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5                   699,191                  24.83
                          แหล่งน้ า                                 16,314                  0.58

                                 รวมเนื้อที่                    2,816,176                100.00

                  ที่มา:  ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
                        และสิ่งแวดล้อม (2555)

                                เขตป่าไม้ถาวร

                                ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี เป็นแนวเขตที่ดินที่เห็นสมควรรักษาไว้เป็นเขตป่าไม้ โดยมี
                  กรมป่าไม้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการน าพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้รักษาไว้เป็นป่าไม้ถาวรพื้นที่
                  จังหวัดล าพูน ประกอบด้วยพื้นที่เขตป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าดังนี้ (รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3-9)
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68