Page 88 - khonkaen
P. 88

4-10





                  รองรับแนวโนมในอนาคตจังหวัดขอนแกนไดวางแนวทางตามแผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน เพื่อ

                  เตรียมพรอมใหอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดขอนแกนในการกาวไปสูการเปน
                  ผูผลิตที่สําคัญในระดับประเทศและตางประเทศ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานรองรับทั้งในดานแรงงาน
                  วัตถุดิบ เทคโนโลยี มาตรฐาน วิจัยและพัฒนา และพัฒนาการผลิตดานอุตสาหกรรมสีเขียวที่เปนมิตรกับ

                  สิ่งแวดลอม การมุงเนนการพัฒนาตอจากการพัฒนาฐานความรูเพื่อนํามา ตอยอดในการพัฒนาภาคการ
                  ผลิตและสินคา เนนการผลิตสินคาที่ตองใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม ปรับบทบาทจังหวัดขอนแกนใหเปน
                  ตัวกลางในการบริหารจัดการระบบหวงโซการผลิตในภาคตะวันตกใหเปนที่ยอมรับในประเทศและ
                  อาเซียน โดยการพัฒนาเปนศูนยกลางการคาและบริหารจัดการการผลิตและจัดการเครือขายในประเทศ
                  ยกระดับการผลิตวัตถุดิบเพื่อสรางใหเกิดมูลคาเพิ่ม รวมถึงการสรางนวัตกรรมทรัพยสินทางปญญาและ

                  ภาพลักษณตราสินคาขอนแกนใหเปนที่ยอมรับในประเทศและอาเซียน


                  4.3  การวิเคราะหพื้นที่โดยใช DPSIR
                        การวิเคราะหเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน ไดวิเคราะหเชิงระบบโดยใชระบบ

                  DPSIR: Drivers-Pressures-States-Impact-Responses (แรงขับเคลื่อน - ความกดดัน - สถานภาพ
                  ทรัพยากร - ผลกระทบ - การตอบสนอง)  ซึ่ง DPSIR ไดถูกพัฒนาขึ้นมาใชในการวิเคราะหภาพรวมของ
                  ผลกระทบทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยมีการใชกัน

                  อยางแพรหลาย ทั้งนี้ กรอบแนวคิด DPSIR ของการกําหนดเขตการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน มีกรอบ
                  แนวคิดในการวิเคราะห คือ ปจจัย (Drivers) ที่เปนสาเหตุของปญหาดานทรัพยากรดิน และสิ่งแวดลอม

                  เปนตัวขับเคลื่อนในการสรางความกดดัน (Pressure) ตอรัฐบาลหรือผูรับผิดชอบโครงการ ซึ่งทั้งปจจัย
                  (Drivers) และความกดดัน (Pressure) สงผลใหทราบถึงสถานภาพหรือสถานการณ (State) ของ

                  ทรัพยากรธรรมที่ดินและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น กอใหเกิดผลกระทบ (Impact) ในหลาย ๆ ดาน ซึ่ง
                  ผลกระทบในแตละดาน สามารถสะทอนการตอบสนอง (Response) เชิงนโยบายหรือการบริหารการ

                  จัดการภาครัฐ เพื่อกําหนดนโยบายหรือมาตรการในการตอบสนองการแกปญหา เพื่อลดผลกระทบ
                  ตลอดจนปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดในอนาคต ซึ่งแตละปจจัยสามารถอธิบายรายละเอียดได ดังนี้
                        แรงขับเคลื่อน (D-Driver) เปนสาเหตุของปญหาหรือสถานการณที่กําลังวิเคราะห เปนปจจัยที่มี

                  พลังขับเคลื่อน สามารถสงผลใหเกิดความกดดันตอรัฐบาลหรือผูรับผิดชอบโครงการได ตัวอยางของแรง
                  ขับเคลื่อนดานทรัพยากรดินและสิ่งแวดลอม ไดแก นโยบายรัฐดานการเกษตร การเพิ่มขึ้นของประชากร

                  ปญหาการถือครองที่ดิน นโยบายรัฐในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ การขยายตัวรองรับภาคเศรษฐกิจ
                  การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภัยพิบัติธรรมชาติ ฯลฯ แรงขับเคลื่อน เปนสิ่งที่สามารถวัดไดเปนปริมาณ

                  ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจได ตัวอยาง เชน การเติบโตของประชากร การเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือ
                  ความกาวหนาของเทคโนโลยี เปนตน

                        ความกดดัน (P-Pressure) คือ ผลที่ไดรับจากแรงขับเคลื่อน กอใหเกิดแรงกดดันตอรัฐบาลหรือ
                  ผูรับผิดชอบโครงการ ซึ่งสงผลใหทราบถึงสถานภาพหรือสถานการณปจจุบันของทรัพยากรดิน และ
                  สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น ตัวอยาง เชน ความตองการที่ดินเพื่อกิจกรรมตาง ๆ ความตองการน้ําเพื่อการเกษตร






                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93