Page 87 - khonkaen
P. 87

4-9





                  4.2  การวิเคราะหความตองการของพื้นที่

                        เกษตรกรขาดการรวมกลุมเพื่อจําหนายผลผลิตในตลาดกลาง ทําใหไมมีอํานาจในการตอรอง

                  ผลผลิตถูกกดราคาในชวงที่ผลผลิตออกมาสูตลาด ปญหาจากการใชสารเคมีในการทําการเกษตร ทําใหมี
                  สารเคมีตกคางในสิ่งแวดลอม พื้นที่ไมสามารถเก็บกักน้ําได ทําใหน้ําไมเพียงพอตอการทําเกษตรขาดแคลน
                  แหลงน้ําเพื่ออุปโภค บริโภค เกษตรกรขาดความรูความเขาใจในการทําเกษตรที่ถูกตอง ปญหาการบุกรุก

                  พื้นที่ทํากินและพื้นที่ภูเขา
                        แนวโนมสินคาดานการเกษตรภายในอนาคต 5 ป ขางหนาโดยมีปจจัยสนับสนุนจากแนวโนม

                  เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัว มูลคาการคาสินคาเกษตรโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยคาดการณวาไทยจะมีมูลคา
                  การสงออกสินคาเกษตรรวมเพิ่มขึ้น เทากับ 1.80 พันลานเหรียญดอลลาสหรัฐอเมริกา ซึ่งทุกสาขาการผลิต
                  มีแนวโนมขยายตัว ไดแก สาขาพืช  ปศุสัตว  ประมง  บริการทางการเกษตร และสาขาปาไม โดยมีปจจัย

                  บวกจากภาครัฐจะมีสวนชวยสนับสนุนที่สําคัญ โดยมีความเขาใจ มีความจริงใจและมีนโยบายดาน
                  การเกษตรที่ชัดเจนมุงเนนการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพการผลิตมากกวาการเนนผลระยะสั้น โดยมี
                  แผนการเกษตรแหงชาติใหมีการศึกษาดานความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสรางสรรค
                  บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รัฐมีเปาหมายชัดเจน เปลี่ยนแปลง

                  แนวนโยบายที่เนนบทบาทในการสงเคราะหชวยเหลือเกษตรกรมาเปนแนวนโยบายที่สนับสนุนเกษตรแบบ
                  บูรณาการ มีแนวนโยบายที่มองทั้งระบบเกษตร ซึ่งเปนการใหความชวยเหลือเกษตรกรตั้งแตเพาะปลูก
                  จนถึงการจําหนาย มีระบบสารสนเทศการเกษตรเตือนภัยธรรมชาติสามารถรับมือกับความแปรปรวนของ
                  สภาพภูมิอากาศได ภาครัฐ เห็นถึงความมั่นคงทางอาหารของประเทศ โดยสรางแรงจูงใจในการเขามา

                  ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน สวัสดิการเกษตรกร อาชีพเกษตรกรรมเปนที่นิยมของคนรุนใหม เนื่องจาก
                  การสงเสริมการเรียนสาขาเกษตรโดยภาครัฐมีกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ ใหรักอาชีพเกษตรกรรม
                  บุคลากรภาคการเกษตรมีความรูความสามารถมากยิ่งขึ้นนักลงทุนสนใจการลงทุนในภาคการเกษตรมากขึ้น
                  มีการบริหารจัดการฟารมที่ดีทําใหประเทศไทยสามารถผลิตสินคาเกษตรไดอยางดีเยี่ยม รายไดเกษตรกร

                  สูงขึ้นเทียบเทาชนชั้นกลางเกษตรกรกลายเปนอาชีพที่มีความมั่นคงดานรายได และมีรายไดขั้นต่ําที่แนนอน
                  สําหรับการผลิตในแตชนิด
                        จังหวัดขอนแกนมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศทางดานการเกษตรกรรม ที่สรางรายได

                  ใหแกเกษตรในจังหวัดในการสงออกผลผลิตทางการเกษตร ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง
                  ยางพารา และสัตวเศรษฐกิจสําคัญ คือ โคเนื้อ สุกร ไกเนื้อ และปจจุบันจังหวัดขอนแกนหันมาเลี้ยง
                  สัตวเศรษฐกิจตัวใหม เชน จิ้งหรีด หอยเชอรี่สีทอง เปนตน ทั้งนี้เปนโอกาสของจังหวัดขอนแกนใน
                  อนาคตจะตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตอาหารใหมีมากพอรองรับ

                  ความตองการที่เพิ่มขึ้น โดยจะตองมีการนําเทคโนโลยี เครื่องจักรที่ทันสมัยมาใชมากขึ้น รวมถึงมีการ
                  บริหารจัดการที่ดีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
                        แนวโนมดานอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแกนจากการวิเคราะหสถานการณในปจจุบันผูประกอบการ
                  มีการพัฒนาตอยอดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางดานอุตสาหกรรมมากขึ้น และที่สําคัญ

                  อุตสาหกรรมสวนใหญของจังหวัดขอนแกนเปนอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต
                  เกษตรจึงเปนโอกาสที่สําคัญของจังหวัด ที่ภาคการผลิตสามารถเปนวัตถุดิบเพื่อการแปรรูปในพื้นที่ จึง
                  เปนแนวทางที่เชื่อมโยงกันระหวางการผลิตของเกษตรกร และภาคอุตสาหกรรมผูแปรรูป และเพื่อ




                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92