Page 31 - khonkaen
P. 31

2-17





                            2) ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดขอนแกน (Gross Provincial Product, GPP)

                              “ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด” (Gross Provincial Products; GPP) หมายถึง จํานวน
                  รายไดจากกิจกรรมการผลิตของจังหวัด โดยแสดงในหนวย (บาท)
                              ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดขอนแกน ป 2561 มีมูลคาผลผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด

                  (GPP) 211,192 ลานบาท สวนใหญอยูนอกภาคเกษตรมีมูลคา 189,760 ลานบาท คิดเปนรอยละ 89.85
                  ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด สวนผลิตภัณฑมวลรวมภาคเกษตรมีมูลคา 21,432 ลานบาท คิดเปน
                  รอยละ 10.15 ของผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัด ผลิตภัณฑมวลรวมภาคเกษตรของจังหวัดขอนแกน
                  ประกอบดวย สาขาพืชรอยละ 62.05 สาขาปศุสัตวรอยละ 22.75 สาขาบริการทางการเกษตรรอยละ
                  9.35 สาขาประมงรอยละ 5.15 และสาขาปาไมรอยละ 0.70 (ตารางที่ 2-6)


                  ตารางที่ 2-6 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดขอนแกน ป 2561
                              รายการ                มูลคาผลิตภัณฑมวลรวม (ลานบาท)         รอยละ

                  รวม                                          211,192.00                  100.00

                  นอกภาคเกษตร                                  189,760.00                    89.85
                  ภาคเกษตร                                      21,432.00                    10.15

                        สาขาพืช                                     13,298.56                   62.05


                        สาขาปศุสัตว                                 4,875.78                   22.75

                        สาขาบริการทางการเกษตร                        2,003.89                    9.35
                        สาขาประมง                                    1,103.75                    5.15

                        สาขาปาไม                                     150.02                    0.70
                  ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 4, 2563


                        2.5.2 พืชเศรษฐกิจสําคัญในจังหวัดขอนแกน
                            1) พืชเศรษฐกิจสําคัญ 4 ลําดับ
                              จากรายงานแนวทางการสงเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานขอมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก

                  จังหวัดขอนแกน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2564) พบวา จังหวัดขอนแกนมีพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจสําคัญที่ปลูกมาก
                  4 ลําดับ ไดแก ขาวนาป ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และยางพารา สามารถสรุปสาระสําคัญไดดังนี้

                              1.1)  ขาวนาป
                                  สถานการณการผลิตและการตลาด จากรายงานแนวทางการสงเสริม
                  การเกษตรที่เหมาะสมตามฐานขอมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก จังหวัดขอนแกน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2564)

                  จัดแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมที่ 1 พื้นที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และพื้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                  (S2) รวมพื้นที่ 1,348,936 ไร คิดเปนรอยละ 24.41 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน และกลุมที่ 2 พื้นที่มี
                  ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) และพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (N) รวมพื้นที่ 4,185,596 ไร หรือคิดเปน
                  รอยละ 75.59 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน (ตารางที่ 2-7)







                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36