Page 65 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 65

3-9





                  เจริญเติบโตของพืช ซึ่งในการประเมินอัตราการชะล้างพังทลายของดินครั้งนี้ใช้ค่าปัจจัยการจัดการพืชตาม

                  การศึกษาของกรมพัฒนาที่ดิน (2545)
                              P คือ ค่าปัจจัยการปฏิบัติเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน (conservation
                  practices factor) เป็นปัจจัยที่แสดงถึงมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่นั้นๆ เช่น การปลูกพืชตามแนว

                  ระดับ (contouring) การปลูกพืชสลับขวางความลาดเอียง (strip cropping) เป็นต้น ในการประเมินการ
                  ชะล้างพังทลายของดินครั้งนี้ใช้ค่าปัจจัยการปฏิบัติป้องกันการชะล้างพังทลายตามการศึกษาของกรมพัฒนา
                  ที่ดิน (2545)
                                จากค่าปัจจัยทั้ง 5 ปัจจัยนั้น สามารถน ามาค านวณการสูญเสียดินสอดคล้องตาม
                  สมการการสูญเสียดินสากล โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งแบ่งชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน

                  ออกเป็น 5 ระดับดังนี้

                          ชั นความรุนแรงของการสูญเสียดิน              อัตราการสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี)
                                      น้อย                                       0-2
                                    ปานกลาง                                      2-5

                                     รุนแรง                                      5-15
                                      มาก                                       15-20
                                     มากที่สุด                                มากกว่า 20

                              จากการประเมินการชะล้างพังทลายของดิน โดยการประเมินอัตราการสูญเสียดินและ

                  จัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดินของจังหวัดเชียงราย (ตารางที่ 3-2 และรูปที่ 3-3) พบว่า อัตราการ
                  สูญเสียดินในพื้นที่จังหวัดเชียงรายส่วนใหญ่อยู่ที่ระดับน้อยและปานกลาง โดยส่วนใหญ่จะเกิดบริเวณดิน
                  พื้นที่ราบลุ่มและดินพื้นที่ดอน ซึ่งมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวและดินร่วน และส่วนใหญ่มีการใช้ที่ดินในการท านา
                  เป็นพื้นที่ป่าไม้ และเป็นพวกไม้ยืนต้น อย่างไรก็ตาม บางพื้นที่ของจังหวัดเชียงรายมีระดับความรุนแรงของ

                  การสูญเสียดินในระดับตั้งแต่รุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 1,961,026 ไร่ หรือร้อยละ
                  26.87 ของเนื้อที่จังหวัด โดยพื้นที่ดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีความลาดชันมากกว่า 35
                  เปอร์เซ็นต์ มีการปลูกพืชไร่หมุนเวียน พืชไร่ และไม้ยืนต้น โดยส่วนใหญ่ความรุนแรงของการสูญสัยดิน
                  ดังกล่าวพบในอ าเภอแม่ฟ้าหลวง อ าเภอแม่สรวย อ าเภอเวียงป่าเป้า และอ าเภอเวียงแก่น

                  ตารางที่ 3-2  ความรุนแรงของการสูญเสียดินของจังหวัดเชียงราย

                                                                                   เนื อที่
                            ระดับความรุนแรงของการสูญเสียดิน
                                                                            ไร่           เปอร์เซ็นต์

                   น้อย                                                   3,469,993           47.54
                   ปานกลาง                                                1,867,962           25.59
                   รุนแรง                                                   542,238            7.43
                   รุนแรงมาก                                                196,494            2.69

                   รุนแรงมากที่สุด                                        1,222,294           16.75
                                         รวม                              7,298,981          100.00
                  ที่มา : กลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2562)
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70