Page 40 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 40

2-27




                      2. พืชที่ส าคัญของจังหวัด


                        2.1  พืช GI และพืชอัตลักษณ์ ของประเทศไทย
                            1) กาแฟ พันธุ์อาราบีก้า
                            2) สับปะรด พันธุ์ภูแล และนางแล
                            3) ชา พันธุ์ชาอัสสัม และชาจีน
                        2.2  พืชเศรษฐกิจหลัก

                            1) ข้าวเหนียวนาปี ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ กข6 และสันป่าตอง
                             2) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ลูกผสมของเอกชน
                            3) ลิ้นจี่ ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ ฮงฮวย

                            4) ล าไย ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ อีดอ
                            5) ยางพารา ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์  RRIM 600                                                                                                   2-27


                  2.7  ทรัพยากรธรรมชาติ

                      1. ทรัพยากรดิน

                        ทรัพยากรดินของจังหวัดเชียงราย (รูปที่ 2-3) ประกอบด้วย
                        1.1  ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พบบริเวณส่วนต่ าของสันดินริมน้ า บริเวณที่ราบน้ าท่วมถึง ตะพัก
                  ล าน้ า และที่ราบตะกอนน้ าพา เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนน้ าพา มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบ

                  ถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการแช่ขังของน้ าและมีระดับน้ าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดินในช่วงฤดูฝน ดินมีการระบาย
                  น้ า ค่อนข้างเลวถึงเลว สีเทา เทาเข้ม เทาปนชมพู น้ าตาลปนเทา น้ าตาลปนเทาเข้ม และพบจุดประ
                  ตลอดหน้าตัดดินหรือบางชั้นของหน้าตัดดินสีน้ าตาลปนเหลือง น้ าตาลปนแดง น้ าตาลแก่ มีปฏิกิริยาของ
                  ดิน เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าถึงปานกลาง โดยจ าแนกตามเนื้อดินอย่าง

                  กว้างๆ ได้ 2 กลุ่ม ดังนี้
                            1) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ส่วนดิน
                  ล่างเป็นดินเหนียวปนทรายแป้ง ดินเหนียว หรือดินทรายปนร่วน ได้แก่ ชุดดินหางดง (Hd) ชุดดินพาน
                  (Ph) ชุดดินเวียงชัย (Wch) ชุดดินเชียงราย (Cr) และชุดดินสุโขทัย (Skt)

                            2) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน หรือดินร่วนปน
                  ทรายแป้ง ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วนปนดินเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินเหนียวปนทรายแป้ง
                  หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ได้แก่ ชุดดินแม่สาย (Ms) ชุดดินล าปาง (Lp) ชุดดินแม่ขาน (Mkn) ชุดดิน

                  สรรพยา (Sa) และชุดดินสันทราย (Sai) และตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน (AC) ที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว
                        1.2  ดินในพื้นที่ดอน เป็นดินในเขตแห้งที่ในรอบปีหนึ่งๆ ระดับความชื้นของดินจะถูกจ ากัด
                  ส าหรับการเจริญเติบโตของพืชในบางช่วงเวลา ดินจะแห้งถึงจุดเหี่ยวเฉาติดต่อกันเกิน 45 วัน ในรอบปี
                  หรือวันแห้งสะสมกันเกินกว่า 90 วัน ในรอบปี มีฝนตกน้อยและตกกระจายไม่สม่ าเสมอ พบตั้งแต่บริเวณ
                  ที่ราบระหว่างเนินเขา สันดินริมน้ าของที่ราบน้ าท่วมถึง ตะพักล าน้ า ลานตะพัก เชิงเขา เนินเขา หรือ

                  บริเวณพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนน้ า การผุพังสลายตัวอยู่
                  กับที่ และ/หรือการเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลมากนักของหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45