Page 21 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 21

2-7





                          ปริมาณน้ าฝน มีปริมาณน้ าฝนรวมตลอดปี 1,717.60 มิลลิเมตร โดยมีปริมาณน้ าฝนสูงสุดใน

                  เดือนตุลาคมประมาณ 260.00 มิลลิเมตร และปริมาณน้ าฝนต่ าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ประมาณ 3.80
                  มิลลิเมตร
                          ความชื้นสัมพัทธ์ มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 76.42 เปอร์เซ็นต์ โดยมีความชื้นสัมพัทธ์

                  สูงสุดในเดือนตุลาคมประมาณ 82 เปอร์เซ็นต์ และต่ าสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 72 เปอร์เซ็นต์
                          การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูก จากการวิเคราะห์สถานการณ์สมดุลของน้ า เพื่อการเกษตร
                  ด้วยข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน้ าเฉลี่ยรายเดือน
                  (Evapotranspiration : ETo) ซึ่งค านวณโดยใช้โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดย
                  พิจารณาจากช่วงระยะที่น้ าฝนอยู่ที่เหนือระดับเส้น 0.5 ของค่าศักยภาพการคายระเหยน้ า (0.5 ETo)

                  เป็นหลัก เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชของจังหวัดสมุทรสงคราม สามารถสรุปได้ดังนี้
                          1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก จะอยู่ในช่วงเดือนมีนาคมถึงกลางเดือน
                  พฤศจิกายน เนื่องจากดินมีความชื้นเพียงพอส าหรับการปลูกพืช

                          2) ช่วงระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมในการเพาะปลูกพืช แบ่งออกเป็นช่วงขาดน้ า เนื่องจากมี
                  ปริมาณน้ าฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งจะอยู่ในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงปลาย
                  เดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงเวลาดังกล่าวถ้ามีน้ าชลประทานช่วยก็สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ และช่วงน้ ามาก
                  เกินพอซึ่งจะอยู่ในช่วงต้นเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนมากบริเวณที่

                  ลุ่มหรือบริเวณฝั่งแม่น้ า อาจเกิดน้ าท่วมส่งผลเสียหายกับผลผลิตได้
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26