Page 20 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 20

2-6





                  เป็นส าคัญ ซึ่งส่วนมาก ได้แก่ เรือยนต์ เรือหางยาว เรือแจว และมีท่าเทียบเรืออีก 7 แห่ง การติดต่อกัน

                  ระหว่างจังหวัดโดยทางเรือ มีดังนี้
                          - จังหวัดสมุทรสงคราม ถึง จังหวัดราชบุรี ใช้แม่น้ าแม่กลองเป็นเส้นทางคมนาคม
                          - จังหวัดสมุทรสงคราม ถึง อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ใช้เส้นทางทะเล

                            การขนส่งระหว่างจังหวัดสมุทรสงครามกับกรุงเทพฯ นั้น แต่เดิมใช้ล าคลอง เช่น คลอง
                  แม่กลอง คลองภาษีเจริญ เป็นต้น ปัจจุบันนิยมใช้เรือเดินทะเลขนส่งสินค้าขึ้นตามแม่น้ าเจ้าพระยา ซึ่งมี
                  เป็นประจ าทุกวัน


                  2.4.  สภาพภูมิประเทศ

                        พื้นที่โดยทั่วไปของจังหวัดสมุทรสงครามเป็นที่ราบลุ่มริมทะเล สภาพของดินเป็นดินเหนียวปน
                  ทราย แม่น้ าส าคัญของจังหวัดที่ไหลผ่านคือ แม่น้ าแม่กลอง ซึ่งไหลผ่านบริเวณท้องที่อ าเภอบางคนที

                  และอ าเภออัมพวา ไปออกทะเลอ่าวไทยที่บริเวณปากแม่น้ าแม่กลองในเขต อ าเภอเมืองสมุทรสงคราม
                  พื้นที่ชายทะเลมีความยาว ประมาณ 24.23 กิโลเมตร พื้นที่เกือบทั้งหมดของจังหวัดเป็นที่ราบชายฝั่งมี
                  ความลาดเอียงไปทางชายฝั่งทะเล ไม่มีเกาะ มีล าคลองใหญ่น้อยมากมายทั้งคลองธรรมชาติและคลองขุด
                  เชื่อมต่อเป็นเครือข่ายและแยกจากแม่น้ า แม่กลอง 366 คลอง ล าประโดง 1,947 ล าประโดง จนเป็นที่

                  รู้จักกันในนาม “เวนิสตะวันออกแห่งสุดท้ายของเมืองสยาม” ซึ่งในแต่ละวันจะมีน้ าขึ้นน้ าลงที่อ่าวไทย
                  เกิดน้ าทะเลหนุนเข้ามาตามแม่น้ าแม่กลองและในคูคลองต่างๆ ท าให้พื้นที่ของจังหวัดมีความแตกต่างกัน
                  ไป โดยแบ่งออกได้เป็น 3 เขต คือ
                             - เขตน้ าเค็ม คือ พื้นที่ตั้งแต่ริมทะเลเข้ามาในแผ่นดินประมาณ 3 กิโลเมตร สภาพเป็น

                  น้ าเค็ม ได้แก่ พื้นที่ในเขต อ าเภอเมืองสมุทรสงคราม
                             - เขตน้ ากร่อย คือ พื้นที่ถัดจากน้ าเค็มเข้ามาประมาณ 3 กิโลเมตร ได้แก่ ในเขตอัมพวา
                  และอ าเภอเมืองสมุทรสงคราม
                          - เขตน้ าจืด คือ พื้นที่ถัดจากเขตน้ ากร่อย สภาพเป็นน้ าจืดสามารถน ามาใช้ประโยชน์ใน

                  การอุปโภคและบริโภค ได้แก่ พื้นที่ในเขตอ าเภออัมพวาตอนเหนือ และอ าเภอบางคนทีทั้งหมด
                  (ส านักงานจังหวัดสมุทรสงคราม, 2561)


                  2.5  สภาพภูมิอากาศ

                      จังหวัดสมุทรสงครามมีลักษณะภูมิอากาศทั่วไปร้อนชื้น ฤดูร้อนมีอากาศร้อนมากโดยเฉพาะช่วง
                  เดือนพฤษภาคม ในปี 2562 มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดที่ 33.70 องศาเซลเซียส ฤดูฝนฝนตกมากในช่วงเดือน
                  ตุลาคม ซึ่งเป็นฤดูกาลเพาะปลูกของเกษตรกร ฤดูหนาวมีอากาศค่อนข้างหนาวช่วงเดือนธันวาคม

                  อุณหภูมิเฉลี่ยต่ าสุดในปี 2562 เฉลี่ยต่ าสุดอยู่ที่ 21.50 องศาเซลเซียส ส าหรับความชื้นสัมพัทธ์ ใน
                  ปี 2562 ช่วงเดือนตุลาคมมีค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุดร้อยละ 82.00 โดยมีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 2-2)
                          อุณหภูมิ มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 28.13 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในเดือน

                  เมษายนประมาณ 29.80 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยต่ าสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 25.80
                  องศาเซลเซียส
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25