Page 55 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 55

2-33



                             3) การประมง
                                                                                                      
                                จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่เหมาะสมกับการทำประมงน้ำจืดและประมงชายฝง
                  เนื่องจากพื้นที่บางสวนติดชายฝงทะเล ไดแก อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางบอ และอำเภอ

                  พระสมุทรเจดีย ประกอบกับกระทรวงเกษตรและสหกรณไดประกาศ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เรื่อง
                  การกำหนดเขตเหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (การเพาะเลี้ยงกุงและสัตวน้ำจืด) โดยวิเคราะห
                  จากปจจัยการพัฒนาพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำประกอบดวยความเหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยง
                  กุงทะเลในพื้นที่ 3 อำเภอ 11 ตำบล ไดแก อำเภอบางบอ (ตำบลคลองดาน) อำเภอพระสมุทรเจดีย
                                                                                                     ื
                  (ตำบลนาเกลือในคลองบางปลากด บานคลองสวน แหลมฟาผา และปากคลองบางปลากด) อำเภอเมอง
                  สมุทรปราการ (ตำบลทายบาน ตำบลทายบานใหม ตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม และตำบลปากน้ำ)
                                                                       ี่
                  สำหรับพื้นที่เหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืดอยูในพื้นททั้ง 6 อำเภอ 50 ตำบล
                                ประมงน้ำจืด ป 2564 สวนใหญเปนผลผลิตจากการเลี้ยงในบอ พบวา มีปริมาณ

                  16,879 ตัน และมีมูลคา 781.89 ลานบาท เมื่อพิจารณาผลผลิตจำแนกเปนชนิดของสัตวน้ำที่เลี้ยง
                                                     ่
                  พบวา ปลานิล เปนสัตวน้ำจืดที่ผลิตมากทีสุด มีปริมาณ 14,662 ตัน คิดเปนรอยละ 86.87 ของปริมาณ
                  ทั้งหมด มีมูลคา 515.08 ลานบาท คิดเปนรอยละ 65.88 ของมูลคาทั้งหมด รองลงมา ปลาสลิด ม ี
                  ปริมาณ 1,152 ตัน คิดเปนรอยละ 6.83 ของปริมาณทั้งหมด มีมูลคา 43.96 ลานบาท คิดเปนรอยละ

                  5.62 ของมูลคาทั้งหมด และกุงกามกราม มีปริมาณ 878 ตัน คิดเปนรอยละ 5.20 ของปริมาณทั้งหมด
                  มีมูลคา 215.45 ลานบาท คิดเปนรอยละ 27.56 ของมูลคาทั้งหมด ตามลำดับ เกษตรนิยมเพาะเลี้ยง
                  ปลานิลมากกวาปลาสลิดเนื่องจากระยะเวลาการเลี้ยงปลาสลิดใชเวลายาวนานมากกวาการเลี้ยงปลานิล
                  แตปจจุบันมีการเลี้ยงผสมผสานระหวางการเลี้ยงปลานิลกับกุงขาว หรือปลาสลิดกับกงขาว เนื่องจากกง
                                                                                        ุ
                                                                                                      ุ
                  ขาวมีระยะเวลาการเลี้ยงสั้นประมาณ 2-3 เดือนก็สามารถจับขายได (ตารางที่ 2-21 และรูปที่ 2-12)
                                ประมงน้ำเค็ม ป 2564 ปริมาณสัตวน้ำเค็มที่จับไดจากการทำประมงพาณิชยและนำมา
                                         ุ
                  ขึ้นทาเทียบเรือในจังหวัดสมทรปราการ สามารถจับสัตวน้ำเค็มได 33,061 ตัน คิดเปนมูลคา 1,232,635
                  ลานบาท สวนใหญเปนสัตวน้ำเค็มจำพวกปลาเศรษฐกิจสำหรับบริโภคและปลาเปด มีปริมาณ 27,824

                  ตัน คิดเปนมูลคา 476,773 ลานบาท รองลงมา หมึก มีปริมาณ 3,801 ตัน คิดเปนมูลคา 21,422 ลาน
                                                                                        ื่
                                                                                                      ื
                              ั้
                  บาท และกุง/กง/เคย มีปริมาณ 1,151 ตัน คิดเปนมูลคา 31,130 ลานบาท ขณะที่เมอจำแนกเครื่องมอ
                  การทำประมง พบวา สวนใหญใชอวนลากคูเปนหลัก คิดเปนรอยละ 28.57 รองลงมา เบ็ดมือ และอวน
                  ลากแผนตะเฆ คิดเปนรอยละ 25.71 และ 21.67 ตามลำดับ (ตารางที่ 2-22 ถึง ตารางที่ 2-23 และรูปที  ่
                  2-13)
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60