Page 77 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 77

3-43






                                S2   หมำยถึงมีควำมเหมำะสม (Suited)

                                S3   หมำยถึงมีควำมเหมำะสมน้อย (Marginally suited)
                              2. ชั้นที่ไม่มีควำมเหมำะสม (Not – Suitable class) ประกอบด้วย
                                N1   หมำยถึงไม่มีควำมเหมำะสมในปัจจุบัน (Currently not suited)

                                N2   หมำยถึงไม่มีควำมเหมำะสมถำวร
                              แต่ในปัจจุบันชั้นที่ไม่มีควำมเหมำะสมจะยังไม่จ ำแนกออกเป็นชั้น N1 และ N2 แต่จะ
                  จ ำแนกเป็น ชั้น N รวมเป็นชั้นที่ไม่มีควำมเหมำะสมเพียงชั้นเดียว
                              คุณภำพที่ดิน (Land Quality) เป็นปัจจัยหลักที่ควบคุมกำรเจริญเติบโตของพืช
                  ในระบบกำรประเมินคุณภำพที่ดินของ FAO ก ำหนดไว้ 25 ปัจจัย แต่จำกหลักเกณฑ์กำรคัดเลือกปัจจัย

                  เฉพำะที่มีผลต่อกำรเจริญเติบโต เป็นข้อมูลที่สำมำรถเข้ำถึงได้ และมีควำมส ำคัญในประเทศจะใช้เพียง
                  10 ปัจจัยเท่ำนั้น โดยภำยใต้ Land Quality จะประกอบด้วยปัจจัยบ่งชี้ (Diagnostic factor) ได้แก่
                  “คุณลักษณะที่ดิน (Land Characteristic)” ปัจจัยเดียวหรือหลำยปัจจัยก็ได้ ขึ้นกับควำมต้องกำรของพืช

                  (Crop requirements) ที่ใช้ประเมิน โดยมีองค์ประกอบดังนี้
                              1. ควำมชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                                - ปริมำณน้ ำฝน (r)
                              2. ควำมเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรำกพืช

                                - กำรระบำยน้ ำ (o)
                              3. ควำมเป็นประโยชน์ของธำตุอำหำร
                                - ควำมอิ่มตัวด้วยด่ำง (b)
                                - ควำมจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (c)

                              4. ควำมจุในกำรดูดยึดธำตุอำหำร
                                - ปริมำณอินทรียวัตถุ (m)
                                - ปริมำณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (p)
                                - ปริมำณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (k)

                                - ปฏิกิริยำของดิน (a)
                              5. สภำวะกำรหยั่งลึกของรำก
                                - ควำมลึกของดิน (d)

                              6. กำรมีเกลือมำกเกินไป
                                - กำรน ำไฟฟ้ำ (x)
                              7. สำรพิษ
                                - จำโรไซด์ (j)
                              8. ควำมเสียหำยจำกกำรกัดกร่อน

                                - ควำมลำดชัน (g)
                            ผลจำกกำรประเมินควำมเหมำะสมของที่ดินของจังหวัดสกลนคร สำมำรถจ ำแนกกำรจัด
                  ชั้นควำมเหมำะสมของที่ดินในระดับชั้นย่อย รำยละเอียดดังตำรำงที่ 3-13
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82