Page 76 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 76

3-42






                        3.3.3 การประเมินคุณภาพที่ดิน

                          จำกกำรใช้คู่มือกำรประเมินคุณภำพที่ดิน ส ำหรับกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินระดับต ำบลและ
                  ระดับจังหวัด (ศันสนีย์ และค ำรณ , 2562) เป็นกำรประเมินคุณภำพที่ดิน ตำมนโยบำยและแผนกำร
                  บริหำรจัดกำรที่ดินและทรัพยำกรดินของประเทศระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) แผนบริหำรจัดกำรที่ดิน

                  และทรัพยำกรดินของประเทศ (พ.ศ.2560-2564) และแผนปฏิรูปประเทศที่มีควำมต้องกำรแผนกำรใช้
                  ที่ดินในกระบวนทัศน์เชิงอุปสงค์ (Demand Paradigm) คือกำรใช้ตลำดน ำกำรผลิต โดยมิได้พิจำรณำ
                  ศักยภำพหรือควำมเหมำะสมของที่ดิน (Supply Paradigm) เพียงอย่ำงเดียว แต่ต้องค ำนึงควำมสำมำรถ
                  ของตลำดที่สำมำรถรองรับปริมำณของผลผลิตของพืชแต่ละชนิดได้ด้วย กระบวนกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดิน
                  (Land Use Planning Approach) จึงจ ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนจำกกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินแบบทำงเลือก

                  (Supply Basis Approach) มำเป็นแผนกำรใช้ที่ดินแบบก ำหนดพื้นที่ชัดเจนว่ำพืชเศรษฐกิจหลักจะปลูก
                  ที่ไหนบ้ำง มีพื้นที่ปลูกที่ชัดเจน ให้ผลผลิตที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำด (Demand Basis
                  Approach : DB) ซึ่งขั้นตอนในกำรก ำหนดเขตกำรใช้ที่ดินแบบ “อุปสงค์น ำอุปทำน” หรือ DB

                  จ ำเป็นต้องใช้วิธีกำรหรือเทคนิคเฉพำะที่เรียกว่ำ Single Map Approach : SMA (Kamron Saifuk,
                  2014) คือกระบวนกำรก ำหนดเขตกำรปลูกพืชเศรษฐกิจหลำยชนิดลงในแผนที่เดียว ซึ่งสำมำรถ
                  ตอบสนองควำมต้องกำรภำครัฐในกำรบริหำรจัดกำรผลผลิตทำงกำรเกษตรได้อย่ำงเป็นรูปธรรม
                            หลักเกณฑ์ในกำรคัดเลือกคุณภำพที่ดินเพื่อกำรประเมินควำมเหมำะสมที่ดิน

                  ยึดหลักเกณฑ์ ดังนี้
                              1. คุณลักษณะที่ดินนั้นจะต้องมีผลต่อกำรเจริญเติบโตของพืช (Effect upon use)
                                1) มีผลมำก (Large)
                                2) มีผลปำนกลำง (Moderate)

                                3) มีผลน้อยมำก (Slight)
                              2. ค่ำวิกฤตต้องเกิดขึ้นบ่อยครั้ง (Occurrence of Critical Values) ในพื้นที่ศึกษำ
                                1) เกิดบ่อยครั้ง (Frequent)
                                2) เกิดขึ้นบ้ำง (Infrequent)

                                3) เกิดยำกมำก (Rarely)
                              3. ข้อมูล
                                1) สำมำรถเอำมำได้ (Obtainable)

                                2) ไม่สำมำรถเอำมำได้ (Unobtainable)
                              จำกหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ข้อ ดังกล่ำว น ำมำประเมินเป็นระดับควำมส ำคัญของคุณภำพที่ดิน
                  (โดยจะใช้คุณลักษณะที่ดินเป็นตัวแทนคุณภำพที่ดิน) เป็นระดับควำมส ำคัญ (Significance) ได้ดังนี้
                                1) ส ำคัญมำก  จะต้องใช้ในกำรประเมินทุกครั้งมีล ำดับควำมส ำคัญสูงสุด
                                2) ส ำคัญ     ต้องใช้ในกำรประเมินแต่มีควำมส ำคัญรองลงมำ

                                3) ส ำคัญน้อย  ไม่จ ำเป็นต้องใช้ในกำรประเมิน
                              ชั้นควำมเหมำะสม (Suitabillity class) แบ่งออกเป็น 2 ชั้นใหญ่ 5 ชั้นย่อย ดังนี้
                              1. ชั้นที่มีควำมเหมำะสม (Suitabillity class) ประกอบด้วย

                                S1   หมำยถึงมีควำมเหมำะสมมำก (Highly suited)
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81