Page 64 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 64

3-30






                  บุญนำก (Nbn) ชุดดินโนนแดง (Ndg) ชุดดินร้อยเอ็ด (Re) ชุดดินเรณู (Rn) ชุดดินศรีขรภูมิ (Sik) ชุดดิน

                  สีทน (St) และตะกอนน้ ำพำที่มีกำรระบำยน้ ำเลว (AC-pd)
                                    1.3  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น มีเนื้อดินที่เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง มีเนื้อดินบน
                  เป็นดินร่วนปนทรำยหรือดินทรำยปนร่วน ส่วนดินล่ำงมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรำยปนก้อนกรวด

                  พบชั้นลูกรังที่ยึดเกำะกันค่อนข้ำงแน่นหรือเป็นแผ่นแข็งภำยในควำมลึก 50 เซนติเมตร จำกผิวดิน ได้แก่ ชุดดิน
                  อ้น (On)

                                  2. ดินบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง พบในพื้นที่ที่มีตั้งแต่ค่อนข้ำง
                  รำบเรียบ ลูกคลื่นลอนลำด และเนินเขำ ดินแห้งเป็นส่วนใหญ่ในรอบปี หรือดินแห้งรวมกันแล้วมำกกว่ำ 90
                  วันในรอบปีควำมชื้นในดินเป็นตัวจ ำกัดกำรใช้ที่ดินในกำรเพำะปลูกพืช โดยเฉพำะช่วงฤดูแล้งเสี่ยงต่อ

                  กำรขำดแคลนน้ ำกำรระบำยน้ ำดี ดีปำนกลำงไปจนถึงดีมำกเกินไป โดยดินที่พบส่วนใหญ่จะเป็นดินเนื้อหยำบ
                  ที่เกิดจำกกำรผุพังสลำยตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ำยมำในระยะทำงไม่ไกลของหินทรำย หินทรำยแป้ง
                  ดินมีสีน้ ำตำลสีน้ ำตำลปนเหลือง สีน้ ำตำลปนเทำ และจุดประสีน้ ำตำลแก่ สีเหลืองปนแดง ปฏิกิริยำดินมี
                  ตั้งแต่เป็นกรดจัดมำกถึงด่ำงปำนกลำง มีควำมอุดมสมบูรณ์ต่ ำ บำงบริเวณอำจพบชั้นศิลำแลงอ่อน 2-50

                  เปอร์เซ็นต์ ชั้นหินผุชั้นหินพื้นพวกหินทรำย ชั้นลูกรัง ซึ่งเป็นข้อจ ำกัดในกำรท ำกำรเกษตร โดยจ ำแนก
                  ตำมกลุ่มเนื้อดินได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
                                    2.1  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทรำย
                  ดินทรำยปนร่วน ส่วนดินล่ำงเป็นดินร่วนปนทรำย ดินร่วนเหนียวปนทรำย ดินร่วนเหนียวปนทรำยแป้ง

                  บำงบริเวณชั้นดินมีควำมไม่ต่อเนื่องของเนื้อดิน ดินบนเป็นดินร่วนทับอยู่บนชั้นดินล่ำงที่เป็นดินเหนียว
                  ภำยในควำมลึก 1 เมตร ควรระมัดระวังเรื่องกำรขังน้ ำบริเวณชั้นดินเหนียว อำจท ำให้รำกเน่ำได้ ในกรณี
                  ที่ปลูกพืชหัวหรือพืชไร่บำงชนิด ได้แก่ ชุดดินชุมพลบุรี (Chp) ชุดดินจักรำช (Ckr) ชุดดินห้วยแถลง (Ht)
                  ชุดดินเขมรำฐ (Kmr) ชุดดินพล (Pho) ชุดดินปักธงชัย (Ptc) ชุดดินพระทองค ำ (Ptk) ชุดดินภูพำน (Pu)

                  ชุดดินธำตุพนม (Tp) ชุดดินยำงตลำด (Yl) และตะกอนน้ ำพำที่มีกำรระบำยน้ ำดีปำนกลำง (AC-mw)
                                         2.2  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทรำย เป็นดินที่มีทรำยหนำ มีเนื้อดินบนเป็นดิน
                  ทรำย ดินทรำยปนร่วน ดินร่วนปนทรำย ส่วนดินล่ำงเป็นดินทรำยปนร่วน ดินร่วนเหนียวปนทรำย

                  เนื่องด้วยเป็นดินทรำยจัดควำมสำมำรถในกำรอุ้มน้ ำต่ ำ พืชมีโอกำสขำดน้ ำในช่วงแล้ง และเกิดกำร
                  สูญเสียผิวดินได้ง่ำยจำกกำรกร่อนในช่วงที่ฝนตกชุก ได้แก่ ชุดดินค ำบง (Kg) และชุดดินมหำสำรคำม
                  (Msk)
                                         2.3  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรังที่มีเนื้อดินบนเป็นดิน
                  ร่วน ดินร่วนปนทรำย ดินร่วนปนทรำยปนก้อนกรวด ส่วนดินล่ำงมีเนื้อดินเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว

                  ดินร่วนเหนียวปนทรำย ที่มีลูกรัง กรวด เศษหิน ปะปนอยู่มำก และเกำะตัวกันอย่ำงหลวมๆ อยู่บน
                  ชั้นดิน และบำงพื้นที่อำจพบชั้นลูกรังที่มีกำรเชื่อมตัวกันเป็นแผ่นหนำหรือชั้นศิลำแลงอ่อน ท ำให้เป็น
                  อุปสรรคต่อกำรเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินโพนพิสัย (Pp) ชุดดินปลำปำก (Ppk)

                  ชุดดินสกล (Sk) และชุดดินวังน้ ำเขียว (Wk)
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69