Page 63 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 63

3-29






                  ตารางที่ 3-10  (ต่อ)


                                                                                       เนื้อที่
                                         สถานีสูบน้ า
                                                                                   ไร่          ร้อยละ
                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนสว่ำง                                            3,339        0.06

                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนหนองแคน                                          2,810        0.05

                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนหนองบัวสร้ำง                                     1,296        0.02
                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนหนองหมำกแซว                                      1,164        0.02

                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนหนองฮูดัง-บึง                                    2,166        0.04
                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนห้วยแคน                                            717        0.01

                  สถำนีสูบน้ ำบ้ำนห้วยแคนน้อย                                      1,002        0.02

                  ไม่มีชื่อ                                                        7,215        0.12
                  นอกพื้นที่รับประโยชน์จากสูบน้ าด้วยไฟฟ้า                     5,920,799        98.62

                                          รวมเนื้อที่                          6,003,602        100.00




                            3.3.2.3  ทรัพยากรดิน
                                  ทรัพยำกรดินจังหวัดสกลนคร ประกอบด้วย
                                  1.  ดินในพื้นที่รำบลุ่ม พบตั้งแต่ส่วนต่ ำของพื้นที่เกือบรำบ พื้นที่เกือบรำบ ตะกอน

                  น้ ำพำตะพักล ำน้ ำจนถึงที่รำบระหว่ำงเนินเขำ มีสภำพพื้นที่รำบเรียบ ค่อนข้ำงรำบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอน
                  ลำดเล็กน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่ดินมีสภำพน้ ำขังช่วงหนึ่งของปี บำงบริเวณมีช่วงแล้งนำน กำรระบำยน้ ำ
                  ค่อนข้ำงเลวถึงดีปำนกลำง ดินชั้นบนมีสีน้ ำตำลปนเทำหรือเทำ ในชั้นดินล่ำง มีสีเทำปนน้ ำตำล สีเทำปน
                  ชมพู มีจุดประ สีน้ ำตำลปนเหลือง สีน้ ำตำลปนแดง สีแดง พบชั้นศิลำแลงอ่อน 5-50 เปอร์เซ็นต์

                  นอกจำกนี้บำงพื้นที่พบครำบเกลือบนผิวดิน รอยไถลในหน้ำตัดดิน ฤดูแล้งหน้ำตัดดินมีรอยแตกระแหง
                  กว้ำงและลึก ปฏิกิริยำดินเป็นกรดจัดมำกถึงด่ำงเล็กน้อย ควำมอุดมสมบูรณ์ต่ ำ สำมำรถจ ำแนกตำมกลุ่ม
                  เนื้อดินได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
                                    1.1  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว

                  ดินร่วนเหนียวปนทรำยแป้ง ส่วนดินล่ำงเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทรำยแป้ง ดินเหนียว ดินเหนียวปนทรำย
                  แป้งได้แก่ ชุดดินหนองกุง (Nkg) ชุดดินนครพนม (Nn) ชุดดินธวัชบุรี (Th) และชุดดินศรีสงครำม (Ss)
                                    1.2  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทรำย

                  ดินร่วนปนเหนียว ดินทรำยปนร่วน ส่วนดินล่ำงเป็นดินร่วนปนทรำย ดินร่วนเหนียวปนทรำย ดินร่วน
                  เหนียวปนทรำยแป้ง บำงบริเวณเป็นดินเหนียวหรือพวกทรำย จะแสดงลักษณะกำรเรียงชั้นสลับกัน
                  แล้วแต่ชนิดของวัตถุต้นก ำเนิดที่น้ ำพำมำทับถมในแต่ละปี ได้แก่ ชุดดินละหำนทรำย (Lah) ชุดดินหนอง
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68