Page 141 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 141

4-25






                  ตารางที่ 4-3 (ต่อ)


                     มาตรการวิธีพืช                        สภาพพื้นที่และปัจจัยประกอบ
                  แถบหญ้าเพื่ออนุรักษ์ดิน  ใช้แทนคันดิน ในพื้นที่ความลาดเทสม่ าเสมอ ควรใช้ร่วมกับมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าอื่น
                  และน้ า             ที่เหมาะสม
                  (grass barrier for
                  soil and water
                  conservation)
                  การปลูกหญ้าเพื่อ    การใช้หญ้าเบอร์มิวด้า หญ้าบาเฮีย หญ้ารูซี่ รวมถึงหญ้าพื้นเมืองพันธุ์เลื้อย เหมาะสมอย่าง
                  บ ารุงรักษาคูรับน้ าขอบ  ยิ่ ง ใ น ก า ร ป ลู ก ใ น คู รั บ น้  า แ ล ะ บ น เ ชิ ง ล า ด ด้ า น น อ ก
                  เขา (grass planting on  ซึ่งจะช่วยป้องกันการชะล้างพังทลายได้ดี ส่วนการใช้หญ้าเจ้าชู้สามารถใช้ได้ดีในการปลูก
                  hillside ditches)   บนเชิงลาดด้านนอก เชิงลาดด้านใน และบนสันคูรับน้ าขอบเขา

                  ก าร ป ลู ก ห ญ้ าเพื่ อ ต้องปลูกหญ้าบนที่ลาดเอียงของขั้นบันไดดินทุกกรณี ยกเว้นแต่ได้ใช้หินเรียงแทนแล้ว หญ้า
                  บ ารุงรักษาเชิงลาดด้าน ที่ปลูกควรใช้หญ้าเบอร์มิวด้า หญ้าบาเฮีย และหญ้ารูซี่
                  นอกของขั้นบันไดดิน
                  (grass riser)

                  ไม้บังลม (windbreak)   ใช้ในบริเวณพื้นที่ลมแรงทั้งในพื้นที่ราบและพื้นที่สูงที่มีโอกาสเกิดการเสียหายจากแรงลม
                                      เช่น พื้นที่โล่งติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างหรือในแนวลม ในพื้นที่ต้องการสงวนความชื้นไว้
                                      พื้นที่แหล่งเก็บน้ าขนาดเล็ก พื้นที่ใกล้ชายทะเล โดยพืชที่ใช้เป็นไม้บังลมควรมีระบบรากลึก
                                      กิ่งเหนียวแน่น เช่น กระถินณรงค์ กระถินยักษ์ สน ไม้ไผ่ และมะขาม

                  ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2558)

                               4.4.2.3   หญ้าแฝกกับงานอนุรักษ์ดินและน้้า การอนุรักษ์ดินและน้ าแบบง่ายๆ ที่ช่วยให้

                  ได้ผลผลิตพืชเป็นไปตามปกติและเพิ่มมากขึ้น โดยสามารถด าเนินการเองได้ ในการจัดการเชิงอนุรักษ์
                  เช่น การปลูกพืชเป็นแนวรั้วหรือแนวแถบ เพื่อดักตะกอนดินและยึดดินไม่ให้พังทลาย ได้แก่ พืชตระกูล
                  หญ้าและพืชตระกูลถั่วทั่วๆ ไปหญ้าแฝกเป็นพืชตระกูลหญ้าชนิดหนึ่งที่สามารถน ามาใช้ประโยชน์
                  ในระบบการปลูกพืชตามแนวระดับ และมีการทดสอบระบบแนวรั้วแฝกเป็นมาตรการอนุรักษ์ดิน
                  เป็นเวลานาน สามารถน ามาใช้ในการควบคุมและป้องกันการชะล้างพังทลายของดินได้ มีการน าหญ้าแฝก

                  มาใช้ในงานอนุรักษ์ดินและน้ า อาทิเช่น การเติมความอุดมสมบูรณ์ของดินจากใบแฝกที่ได้จากการตัดแถว
                  แฝกและใช้คลุมดิน การปลูกแฝกบนคันดินและขั้นบันไดดิน เนื่องจากมีระบบรากแนวลึก และมี
                  คุณสมบัติพิเศษสามารถแตกกอโดยการแตกหน่อที่ข้อของล าต้นเหนือดินตลอดเวลา เมื่อตะกอนดิน

                  มาทับถม แถวแฝกจะช่วยลดการสูญเสียดิน การปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดับ เพื่อช่วยชะลอความเร็ว
                  ของน้ าและดักเก็บตะกอนดิน การปลูกหญ้าแฝกป้องกันการพังทลายของไหล่ถนน และการปลูกหญ้าแฝก
                  เพื่อการอนุรักษ์ความชุ่มชื้นในดิน กรมพัฒนาที่ดินมีการรวบรวมสายพันธุ์หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ า ส่งเสริมงานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก การรณรงค์และส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก

                  หญ้าแฝกในพื้นที่ที่มีปัญหาการชะล้างพังทลายของดินสูง พื้นที่ที่มีความลาดชัน และในพื้นที่ที่ก าหนดไว้
                  เช่น เขตพัฒนาที่ดิน การผลิตหญ้าแฝกเพื่อปลูกและแจกจ่ายให้แก่เกษตรกร หน่วยงานของรัฐ และผู้สนใจ
                  ทั่วไป และมีระบบการติดตามโครงการปลูกหญ้าแฝก (vertiver grass tracker) ที่สามารถแสดงแผนที่
                  หญ้าแฝกได้
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146