Page 140 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 140

4-24





                  ตารางที่ 4-3 (ต่อ)


                         มาตรการวิธีพืช                        สภาพพื้นที่และปัจจัยประกอบ
                  การปลูกพืชสลับเป็นแถบ (strip   ใช้ในพื้นที่ที่มีความลาดเทไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ชนิดของพืชที่ปลูกควรเป็นพืช
                  cropping)                   ที่มีระยะชิด เช่น ถั่วลิสง ถั่วเหลือง สลับกับแถบข้าวไร่ ข้าวโพด และข้าวฟ่าง

                  การปลูกพืชสลับเป็นแถบไปตาม   พืชที่ปลูกเป็นแถบสลับกันควรท าการปลูกในลักษณะพืชหมุนเวียนมี
                  แนวระดับ (contour strip      ประสิทธิภาพสูงเมื่อพื้นที่มีความลาดเทสม่ าเสมอ
                  cropping)


                  การปลูกพืชสลับเป็นแถบไปตาม ใช้ร่วมกับการปลูกพืชสลับเป็นแถบขวางทางลม จะช่วยป้องกันการ
                  ท้องไร่ (field strip cropping)   ชะล้างพังทลายของดินดีกว่าการปลูกพืชสลับเป็นแถบตามท้องไร่เพียง
                                               อย่างเดียว เหมาะส าหรับพื้นที่ที่มีความลาดเทไม่สม่ าเสมอมากๆ จนไม่
                                               สามารถท าแนวระดับได้

                  การปลูกพืชสลับเป็นแถขวาง  ความกว้างของแถบปลูกพืชที่ใช้ป้องกันลมไม่ควรน้อยกว่า 30 เมตร

                  ทางลม (wind strip cropping)   เหมาะส าหรับพื้นที่ราบหรือเกือบราบและมีปัญหากระแสลมพัดแรงและ
                                               บ่อยครั้งเป็นประจ า พืชที่ปลูกในแถบระหว่างแถบป้องกันลมควรเป็น
                                               ธัญพืชหรือพืชไร่อื่นๆ

                  การปลูกพืชตามแนวแก้แถบ       การปลูกพืชแก้แถบควรใช้หญ้าหรือพืชตระกูลถั่วคลุมดินที่มีอายุค้างปี
                  (buffer strip cropping)      และใช้เป็นอาหารสัตว์ได้ด้วย

                  การปลูกพืชหมุนเวียน          ใช้พืชที่มีระบบรากลึกสลับกับพืชที่มีระบบรากตื้น ใช้พืชเศรษฐกิจ
                  (crop rotation)              หมุนเวียนกับพืชตระกูลถั่วหรือพืชตระกูลหญ้า

                  การปลูกพืชแซม                พืชแซมควรมีอายุสั้นกว่าพืชหลัก พืชแซมควรเป็นพืชตระกูลถั่ว ระบบ
                  (intercropping)              รากของพืชหลักและพืชแซมควรมีระดับที่แตกต่างกัน และพืชแซมไม่ควร
                                               เป็นที่อยู่อาศัยและเป็นต้นก าเนิดของโรค เลือกพืชแซมที่สามารถท า
                                               รายได้

                  การปลูกพืชเหลื่อมฤดู (relay   ใช้ได้ในทุกสภาพพื้นที่ พืชแรกและพืชที่สองควรเป็นพืชต่างตระกูลเพื่อ
                  cropping)                    ขจัดปัญหาโรคและแมลงสะสม โดยพืชที่สองที่จะปลูกตามมาควรเป็นพืช
                                               ตระกูลถั่วอายุสั้น ทนร่มเงา

                  การปลูกพืชระหว่างแถบไม้พุ่ม สามารถน าไปใช้ในพื้นที่ที่มีความลาดเทต่ าถึงความลาดชันสูง ร่วมกับ
                  บ ารุงดิน (alley cropping)    มาตรการอนุรักษ์อื่นๆ

                  คันซากพืช (contour trash line)  ควรใช้ในขณะที่บุกเบิกพื้นที่ใหม่ และไม่มีทุนหรือเวลาเพียงพอในการท า
                                               คันดินแบบอื่นๆ ซึ่งในอนาคตสามารถเปลี่ยนคันซากพืชให้เป็นแนวคันดิน
                                               ได้
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145