Page 93 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 93

3-7





                      2) น้้าใต้ดิน

                        น้ าใต้ดินในหัวข้อนี้จะพิจารณาเฉพาะน้ าบาดาลซึ่งเกิดจากน้ าบางส่วนที่เหลือจากการกักเก็บ
                  ที่ผิวดิน ไหลซึมลงไปใต้ดินไปถูกกักเก็บไว้ทั้งในดินและในหิน ชั้นดินหรือหินส่วนนี้ไม่มีน้ าอยู่เต็ม
                  ทุกช่องว่าง หินส่วนล่างซึ่งอยู่ใต้ระดับน้ าใต้ดินลงไป และมีน้ าบรรจุอยู่เต็มทุกช่องว่างเรียกว่า โซนอิ่มตัว

                  ด้วยน้ าซึ่งถือเป็นแหล่งน้ าบาดาล หินที่เป็นแหล่งน้ าบาดาลนี้เรียกรวมๆ กันว่า หินอุ้มน้ า (เจริญ, 2540)
                        จากข้อมูลของกรมทรัพยากรน้ าบาดาล (2554) พบว่าพื้นที่จังหวัดราชบุรี มีชั้นหินอุ้มน้ า
                  จ านวน 9 ประเภท (รูปที่ 3-2) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                        (1) ชั้นหินอุ้มน้ าหินแกรนิต มีเนื้อที่ประมาณ 596,341 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.36 ของเนื้อที่
                  จังหวัด

                        (2) ชั้นหินอุ้มน้ าหินชุดโคราชตอนกลาง มีเนื้อที่ประมาณ 1,975 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.06 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด
                        (3) ชั้นหินอุ้มน้ าหินคาร์บอเนตอายุเพอร์เมียน มีเนื้อที่ประมาณ 42,014 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                  1.30 ของเนื้อที่จังหวัด
                        (4) ชั้นหินอุ้มน้ าหินชั้นกึ่งแปรอายุเพอร์เมียน คาร์บอนิเฟอรัส มีเนื้อที่ประมาณ 1,815,538 ไร่
                  คิดเป็นร้อยละ 55.90 ของเนื้อที่จังหวัด
                        (5) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนเศษหินเชิงเขา มีเนื้อที่ประมาณ 25,682 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.79 ของ

                  เนื้อที่จังหวัด
                        (6) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนน้ าพา มีเนื้อที่ประมาณ 551,842 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.99 ของเนื้อที่
                  จังหวัด
                        (7) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ า มีเนื้อที่ประมาณ 1,718  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.05 ของเนื้อที่

                  จังหวัด
                        (8) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ ายุคใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 208,744  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.43
                  ของเนื้อที่จังหวัด
                        (9) ชั้นน้ าหินแปรอายุไซลูเรียน-ดีโวเนียน มีเนื้อที่ประมาณ 3,935 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.12 ของ

                  เนื้อที่จังหวัด

                      3) คุณภาพน้้าใต้ดิน
                        ในการศึกษาคุณภาพน้ าใต้ดินของจังหวัดราชบุรี พิจารณาจากปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปน
                  อยู่ในน้ า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากเล็กมาก (Tds) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้
                  พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น้ า (Yield) มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ซึ่งรายละเอียดดังตารางที่ 3-6

                        จากการศึกษาพบว่า อัตราการให้น้ าน้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็ง
                  ที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตรมีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาเป็น อัตราการให้น้ า
                  ระหว่าง 10-20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าอยู่ระหว่าง

                  500-1,500 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98