Page 49 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 49

2-33





                      2.6.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินทั่วไป

                            การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช๎ที่ดินในพื้นที่จังหวัดราชบุรี ระหวํางปี พ.ศ. 2552 และปี พ.ศ. 2562
                  เกษตรกรในพื้นที่สํวนใหญํเปลี่ยนไปปลูกยางพารา มะพร๎าว และอ๎อย เพิ่มมากขึ้นอาจเนื่องจากเป็น
                  พืชเศรษฐกิจที่ตลาดต๎องการ ในขณะที่ยูคาลิปตัสมีพื้นที่ปลูกลดลงอยํางมาก อาจเนื่องจากราคาผลผลิต

                  ที่ตกต่ํา (ตารางที่ 2-4)
                            1) พื้นที่เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม (A0) เพิ่มขึ้นจากไมํมีพื้นที่ปลูก ในปี พ.ศ. 2552
                  เป็น 319 ไรํ ในปี พ.ศ. 2562 หรือร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนแปลงมาจากนาข๎าว
                  อ๎อย และยูคาลิปตัส ตามลําดับ
                            2) พื้นที่นาข้าว (A1)  ลดลงมาจาก 428,352 ไรํ ในปี พ.ศ. 2552 เป็น 342,750 ไรํ

                  ในปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนลดลง 85,602 ไรํ หรือร๎อยละ 2.64 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนไปเป็น
                  อ๎อย พื้นที่ถม ทุํงหญ๎าสลับไม๎พุํม/ไม๎ละเมาะ ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง ตามลําดับ
                            3) พื้นที่พืชไร่อื่นๆ (A2) ลดลงมาจาก 38,556 ไรํ ในปี พ.ศ. 2552 เป็น 29,120 ไรํ

                  ในปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนลดลง 9,436 ไรํ หรือร๎อยละ 0.29 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนไปเป็น
                  อ๎อย มันสําปะหลัง และพืชผัก ตามลําดับ
                            4) พื้นที่อ้อย (A203) เพิ่มขึ้นจาก 266,034 ไรํ ในปี พ.ศ. 2552  เป็น 306,932  ไรํ
                  ในปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 40,898 ไรํ หรือร๎อยละ 1.26 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนแปลง

                  มาจากยูคาลิปตัส มันสําปะหลัง และนาข๎าว ตามลําดับ
                            5) พื้นที่มันส าปะหลัง (A204) เพิ่มขึ้นจาก 100,658 ไรํ ในปี พ.ศ.2552 เป็น 115,735 ไรํ
                  ในปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 15,077 ไรํ หรือร๎อยละ 0.46 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนแปลง
                  มาจากยูคาลิปตัส อ๎อย และปุาผลัดใบสมบูรณ๑ ตามลําดับ

                            6) พื้นที่สับปะรด (A205) เพิ่มขึ้นจาก 105,796 ไรํ ในปี พ.ศ.2552 เป็น 137,053 ไรํ
                  ในปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 31,257 ไรํ หรือร๎อยละ 0.96 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนแปลง
                  มาจากปุาผลัดใบสมบูรณ๑ ยูคาลิปตัส และอ๎อยตามลําดับ
                            7) พื้นที่ไม้ยืนต้น (A3)  เพิ่มขึ้นจาก 19,040 ไรํ ในปี พ.ศ. 2552  เป็น 39,940  ไรํ ใน

                  ปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 20,900 ไรํ หรือร๎อยละ 0.65 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนแปลง
                  มาจากยูคาลิปตัส ไม๎ละเมาะ และอ๎อย ตามลําดับ
                            8) พื้นที่ยางพารา (A302)  เพิ่มขึ้นจาก 8,259 ไรํ ในปี พ.ศ.2552 เป็น 61,087 ไรํ ใน

                  ปี พ.ศ.2562 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 52,828 ไรํ หรือร๎อยละ 1.63 ของของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนแปลง
                  มาจากปุาผลัดใบสมบูรณ๑ สับปะรด และยูคาลิปตัส ตามลําดับ
                            9) พื้นที่ปาล์มน้ ามัน (A303)  เพิ่มขึ้นจาก 1,059 ไรํ ในปี พ.ศ.2552 เป็น 26,434 ไรํ
                  ในปี พ.ศ.2562 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 25,375 ไรํ หรือร๎อยละ 0.78 ของของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํ
                  เปลี่ยนแปลงมาจากยูคาลิปตัส ปุาผลัดใบสมบูรณ๑  และอ๎อย ตามลําดับ

                            10)  พื้นที่ยูคาลิปตัส (A304)   ลดลงมาจาก 202,792 ไรํ ในปี พ.ศ. 2552 เป็น 84,343 ไรํ
                  ในปี พ.ศ. 2562 มีจํานวนลดลง 118,449 ไรํ หรือร๎อยละ 3.65 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งสํวนใหญํเปลี่ยนไปเป็น
                  มันสําปะหลัง อ๎อย ทุํงหญ๎าสลับไม๎พุํม/ไม๎ละเมาะ และทุํงหญ๎าธรรมชาติ ตามลําดับ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54