Page 121 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 121

4-9





                  4.2  การวิเคราะห์ความต้องการของพื้นที่

                        เกษตรกรขาดการรวมกลุ่มเพื่อจ าหน่ายผลผลิตในตลาดกลาง ท าให้ไม่มีอ านาจในการต่อรอง

                  ผลผลิตถูกกดราคาในช่วงที่ผลผลิตออกมาสู่ตลาด ปัญหาจากการใช้สารเคมีในการท าการเกษตร ท าให้มี
                  สารเคมีตกค้างในสิ่งแวดล้อม พื้นที่ไม่สามารถเก็บกักน้ าได้ ท าให้น้ าไม่เพียงพอต่อการท าเกษตรขาดแคลน
                  แหล่งน้ าเพื่ออุปโภค บริโภค เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจในการท าเกษตรที่ถูกต้อง ปัญหาการบุกรุก

                  พื้นที่ท ากินและพื้นที่ภูเขา
                        แนวโน้มสินค้าด้านการเกษตรภายในอนาคต 5 ปี ข้างหน้าโดยมีปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้ม

                  เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัว มูลค่าการค้าสินค้าเกษตรโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยคาดการณ์ว่าไทยจะมีมูลค่า
                  การส่งออกสินค้าเกษตรรวมเพิ่มขึ้น เท่ากับ 1.80 พันล้านเหรียญดอลล่าสหรัฐอเมริกา ซึ่งทุกสาขาการผลิต
                  มีแนวโน้มขยายตัว ได้แก่ สาขาพืช  ปศุสัตว์  ประมง  บริการทางการเกษตร และสาขาปาาไม้ โดยมีปัจจัย

                  บวกจากภาครัฐจะมีส่วนช่วยสนับสนุนที่ส าคัญ โดยมีความเข้าใจ มีความจริงใจและมีนโยบายด้าน
                  การเกษตรที่ชัดเจนมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพการผลิตมากกว่าการเน้นผลระยะสั้น โดยมี
                  แผนการเกษตรแห่งชาติให้มีการศึกษาด้านความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์
                  บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รัฐมีเป้าหมายชัดเจน เปลี่ยนแปลง

                  แนวนโยบายที่เน้นบทบาทในการสงเคราะห์ช่วยเหลือเกษตรกรมาเป็นแนวนโยบายที่สนับสนุนเกษตรแบบ
                  บูรณาการ มีแนวนโยบายที่มองทั้งระบบเกษตร ซึ่งเป็นการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรตั้งแต่เพาะปลูก
                  จนถึงการจ าหน่าย มีระบบสารสนเทศการเกษตรเตือนภัยธรรมชาติสามารถรับมือกับความแปรปรวนของ
                  สภาพภูมิอากาศได้ ภาครัฐ เห็นถึงความมั่นคงทางอาหารของประเทศ โดยสร้างแรงจูงใจในการเข้ามา

                  ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น สวัสดิการเกษตรกร อาชีพเกษตรกรรมเป็นที่นิยมของคนรุ่นใหม่ เนื่องจาก
                  การส่งเสริมการเรียนสาขาเกษตรโดยภาครัฐมีกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ให้รักอาชีพเกษตรกรรม
                  บุคลากรภาคการเกษตรมีความรู้ความสามารถมากยิ่งขึ้นนักลงทุนสนใจการลงทุนในภาคการเกษตรมากขึ้น
                  มีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดีท าให้ประเทศไทยสามารถผลิตสินค้าเกษตรได้อย่างดีเยี่ยม รายได้เกษตรกร

                  สูงขึ้นเทียบเท่าชนชั้นกลางเกษตรกรกลายเป็นอาชีพที่มีความมั่นคงด้านรายได้ และมีรายได้ขั้นต่ าที่แน่นอน
                  ส าหรับการผลิตในแต่ชนิด
                        จังหวัดราชบุรีคาดการณ์ว่าจะเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีบทบาทส าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทางด้าน

                  การเกษตรกรรม ที่สร้างรายได้ให้แก่เกษตรในจังหวัดในการส่งออกผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่
                  สับปะรด มะพร้าวน้ าหอม มันส าปะหลัง กล้วยไม้ ข้าว ด้านปศุสัตว์ ได้แก่ สุกร ไก่ โคนม โคเนื้อ คิดเป็น
                  มูลค่าสูงสุดถึง 40,500 ล้านบาทต่อปี ทั้งนี้เป็นโอกาสของจังหวัดราชบุรีในอนาคตจะต้องมีการปรับปรุง
                  เปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตอาหารให้มีมากพอรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดย
                  จะต้องมีการน าเทคโนโลยี เครื่องจักรที่ทันสมัยมาใช้มากขึ้น รวมถึงมีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพในการผลิต
                        แนวโน้มด้านอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรีจากการวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบันผู้ประกอบการมี
                  การพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านอุตสาหกรรมมากขึ้น และที่ส าคัญ

                  อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของจังหวัดราชบุรีเป็นอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต
                  เกษตรจึงเป็นโอกาสที่ส าคัญของจังหวัด ที่ภาคการผลิตสามารถเป็นวัตถุดิบเพื่อการแปรรูปในพื้นที่ จึง
                  เป็นแนวทางที่เชื่อมโยงกันระหว่างการผลิตของเกษตรกร และภาคอุตสาหกรรมผู้แปรรูป และเพื่อ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126