Page 107 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 107

3-21





                  ตารางที่ 3-10 (ต่อ)

                  ล้าดับ    ชนิดพืช                 พันธุ์             ช่วงเพาะปลูก  วัตถุประสงค์ของการผลิต

                    6    ยางพารา      RRIM 600                            ตลอดปี          จ าหน่าย
                    7    มะม่วง       น้ าดอกไม้ เขียวเสวย และพื้นเมือง   ตลอดปี          จ าหน่าย

                    8    มะนาว        แป้น                                ตลอดปี          จ าหน่าย
                    9    ปาล์มน้ ามัน   ลูกผสมเทเนอรา                     ตลอดปี          จ าหน่าย

                    10   กล้วย        น้ าว้า หอมทอง และพื้นเมือง         ตลอดปี          จ าหน่าย
                    11   ขมิ้นชัน     แดงสยาม และพื้นเมือง                ตลอดปี          จ าหน่าย

                    12   ไพล          พื้นเมือง                           ตลอดปี          จ าหน่าย



                          3. ผลการประเมินคุณภาพที่ดิน                                                                                                          3-17
                            จากการใช้คู่มือการประเมินคุณภาพที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ (บัณฑิตและค ารณ 2542)
                  ประเมินคุณภาพที่ดิน ได้จ าแนกชั้นความเหมาะสมทางกายภาพและข้อจ ากัดของประเภทการใช้ที่ดิน
                  ดังนี้

                            สับปะรด
                            ชั้นความเหมาะสมมาก (S1) ไม่มีข้อจ ากัด
                            ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความเป็นประโยชน์ของออกซิเจน

                  ต่อรากพืช (Oxygen availability : o) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (Nutrient availability : s)
                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient  retention  capacity  :  n) สภาวะการหยั่งลึกของราก
                  (Rooting  conditions  :  r) สารพิษ (Soil  Toxicities :  z)  และความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion
                  hazard : e)
                            ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านสารพิษ (Soil  Toxicities :  z)

                  และด้านความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)

                            มะพร้าว
                            ชั้นความเหมาะสมมาก (S1) ไม่มีข้อจ ากัด
                            ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความเป็นประโยชน์ของออกซิเจน

                  ต่อรากพืช (Oxygen availability : o) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (Nutrient availability : s)
                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient  retention  capacity  :  n) สภาวะการหยั่งลึกของราก
                  (Rooting  conditions  :  r) สารพิษ (Soil  Toxicities :  z)  และความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion
                  hazard : e)

                            ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านสภาวะการหยั่งลึกของราก
                  (Rooting conditions : r) และด้านความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)

                            ข้าว
                            ชั้นความเหมาะสมมาก (S1) ไม่มีข้อจ ากัด
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112