Page 16 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 16

2- 2




                  ต่ ากว่า 2,900,000 คนต่อปี มีรายได้จากการท่องเที่ยวกว่า 7,098 ล้านบาทต่อปี แหล่งท่องเที่ยวที่

                  ส าคัญมีชื่อเสียงมากมายและหลากหลายรูปแบบ ทั้งในด้านของประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต และ
                  แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ประกอบด้วย
                           3.1  แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ที่ส าคัญ เช่น เสาหลักเมือง

                  พิษณุโลก ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน์ วัดพระศรีรัตนมหาหาธาตุวรมหาวิหาร
                  วัดนางพญา วัดราชบูรณะ วัดเจดีย์ยอดทอง วัดจุฬามณี วัดราชคีรีหิรัญยาราม เป็นต้น
                           3.2  แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและเชิงนิเวศ เช่น อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง อุทยาน
                  แห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เขื่อนแควน้อย เป็นต้น
                           3.3 แหล่งท่องเที่ยวประเภทน้ าตก เช่น น้ าตกชาติตระการ น้ าตกวังนกแอ่น หรือ

                  สวนรุกขชาติสกุโณทยาน น้ าตกแก่งซอง น้ าตกปอย น้ าตกแก่งโสภา เป็นต้น
                           3.4 แหล่งท่องเที่ยวประเภทถ้ า เช่น ถ้ าเดือน – ถ้ าดาว เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ าผาท่าพล
                  ถ้ านเรศวร ถ้ าเรือ ถ้ าผาแดง เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาน้อย – เขาประดู่ ถ้ าน้ ามุด ถ้ ากา เป็นต้น

                           3.5  แหล่งท่องเที่ยวประเภทศิลปวัฒนธรรม เช่น พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี (จ่าสิบเอกทวี-พิมพ์
                  บูรณเขตต์)  หอศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยนเรศวร พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นต้น
                  โดยสถานที่ส าคัญบางแห่งมีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
                           วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดใหญ่)

                           วัดนี้ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ าน่าน ด้านตะวันออกตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐาน
                  ว่าสร้างในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) เป็นที่ประดิษฐาน “พระพุทธชินราช” ซึ่งเป็นพระพุทธรูป
                  ปางมารวิชัยและถือว่าเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองที่สวยงามที่สุดในประเทศไทย ในแต่ละปีจะมี
                  นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศมาเยี่ยมชมจ านวนมาก

                           วัดจุฬามณี
                           อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 5 กิโลเมตร วัดนี้เป็นโบราณสถานที่มีมาก่อนสมัยสุโขทัยตาม
                  หลักฐานทางประวัติศาสตร์กล่าวว่าเป็นวัดที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ ทรงผนวชเป็นเวลา 8 เดือน
                  15 วัน สิ่งส าคัญที่มีค่าสูงทางศิลปะคือ ปรางค์แบบขอม

                           วัดนางพญา
                           วัดนี้มีชื่อเสียงในด้านพระเครื่องมีชื่อเรียกว่า “พระนางพญา” ซึ่งมีการพบกรุพระนางพญา
                  ในปี พ.ศ.2444 และ พ.ศ.2479

                           พระราชวังจันทน์ หรือพระราชวังเมืองพิษณุโลก
                           ตั้งอยู่ภายในก าแพงเมืองบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ าน่าน ตรงข้ามกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
                  ที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช ยังปรากฏร่องรอยหลักฐานที่เป็นซากสิ่งก่อสร้างให้ชัดเจนคงจะสร้าง
                  ในช่วงสมัยอยุธยาตอนต้น โดยเจ้าสามพระยาโอรสของสมเด็จพระนครินทราชาธิราช เมื่อสมเด็จพระ
                  บรมไตรโลกนารถประทับที่เมืองพิษณุโลก ในปี พ.ศ. 2006 – 2030

                           พระราชวังจันทน์ได้มีการก่อสร้างและขยายขอบเขตให้ใหญ่โตเทียบได้กับพระราชวังหลวง
                  ที่พระมหากษัตริย์ประทับ ในระยะเวลาต่อมา พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาโปรดฯ ให้พระมหาอุปราช
                  ครองเมืองพิษณุโลก และประทับที่พระราชวังจังจันทน์มาโดยตลอดในปี พ.ศ. 2535 โรงเรียนพิษณุโลก

                  พิทยาคมได้รับงบก่อสร้างอาคารเรียน ได้ส ารวจพบก าแพงพระราชวังจันทน์ กรมศิลปากรได้ประกาศ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21