Page 102 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 102

4-22





                          2.7  เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ รณรงค์ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตส านึก

                  ให้ประชาชน องค์กรชุมชน องค์กรธุรกิจ ได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดล้อมของป่าต้นน้ าล าธาร เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการป้องกัน เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาและ
                  พัฒนาอย่างยั่งยืน

                          2.8  พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ป่าไม้ และ
                  การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีและภาพถ่ายดาวเทียมในการติดตาม
                  ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริง
                  และสามารถวางระบบการจัดการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
                        2.9  เร่งรัดให้มีการแก้ไขและเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากร

                  ธรรมชาติที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบันและตรากฎหมายขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
                  เพื่อน าไปสู่การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพเป็นธรรมและยั่งยืน

                        3. มาตรการด้านทรัพยากรน้่า
                          3.1   มาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องยึดนโยบาย
                  ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ าแห่งชาติ (กนช.) และคณะกรรมการลุ่มน้ าเป็นหลัก เพื่อให้เกิดการ

                  พัฒนาแบบบูรณาการร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง ขาดแคลนน้ าเพื่อใช้ในด้านการเกษตร
                  อุตสาหกรรม การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนปัญหาน้ าเน่าเสีย คุณภาพของน้ าที่อยู่ในเกณฑ์ต่ า
                          3.2   ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อการจัดการบริหารน้ า โดยการก าหนดพระราชบัญญัติ
                  ทรัพยากรน้ าหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ า การพัฒนาแหล่งน้ าและการควบคุม

                  การใช้น้ าให้สอดคล้องกันและก าหนดสิทธิหน้าที่ของผู้ใช้น้ าให้ชัดเจน
                          3.3  จัดท าทะเบียนแหล่งน้ า พื้นที่ชุ่มน้ าในระดับต าบล
                          3.4   พัฒนาปรับปรุงและอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ าอย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ าต้นทุน
                  ในแหล่งน้ าที่มีศักยภาพในการกักเก็บให้มีปริมาณน้ าเพียงพอกับความต้องการและคุณภาพน้ าอยู่ในเกณฑ์
                  ดีสามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน
                          3.5   ศึกษาศักยภาพของพื้นที่เพิ่มพื้นที่ชลประทานและประสิทธิภาพการกระจายน้ าของ

                  ระบบชลประทานตลอดจนสร้างแหล่งน้ าขนาดเล็กเพิ่มเติม เช่น บ่อน้ าในไร่นา เพื่อเพิ่มปริมาณ
                  การกักเก็บน้ า
                          3.6  ศึกษาความเป็นไปได้ในการน าน้ าใต้ดินมาใช้ในการเกษตร หรือเพื่อการอุปโภคบริโภค
                          3.7   ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรส่วนท้องถิ่นและประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแลอนุรักษ์

                  บริหารจัดการทรัพยากรน้ าในพื้นที่ โดยการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้พิจารณาร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อให้การ
                  จัดสรรน้ ามีความเป็นธรรม สอดคล้องกับระบบนิเวศน์และวัฒนธรรมการจัดการน้ าในแต่ละท้องถิ่น

                        4. มาตรการด้านทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน
                          4.1  ควรเร่งด าเนินการแก้ไขปัญหากรรมสิทธิ์ที่ดินด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะการด าเนินการ

                  ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้เสร็จโดยเร็ว  เพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินท ากินถูกต้องตามกฎหมายและป้องกันที่ดินเปลี่ยน
                  มือจากภาคการเกษตร รวมถึงเป็นแนวป้องกันการบุกรุกขยายพื้นที่ท ากินเข้าไปในเขตพื้นที่ป่า
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107