Page 120 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 120

5-22





                        2.5  สนับสนุนประชาชน และภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังการบุกรุกเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่

                  อนุรักษ์โดยการสร้างแรงจูงใจเพื่อการรักษาวิถีชีวิตเชิงอนุรักษ์ และเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้จากการ
                  อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศป่าไม้

                          2.6  ส่งเสริมการท่องเที่ยวป่าเชิงอนุรักษ์ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
                  แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

                          2.7  เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ รณรงค์ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตส านึกให้
                  ประชาชน องค์กรชุมชน องค์กรธุรกิจ ได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ่งแวดล้อมของป่าต้นน้ าล าธาร เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการป้องกัน เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา
                  และพัฒนาอย่างยั่งยืน
                          2.8  พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ป่าไม้

                  และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ โดยใช้ระบบเทคโนโลยี และภาพถ่ายดาวเทียมในการติดตาม
                  ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริง

                  และสามารถวางระบบการจัดการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
                        2.9  เร่งรัดให้มีการแก้ไข และเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากร

                  ธรรมชาติที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน และตรากฎหมายขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
                  เพื่อน าไปสู่การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพเป็นธรรม และยั่งยืน

                        2.10 การขับเคลื่อนการจัดที่ดินท ากินให้กับชุมชน โดยคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด
                  (คสช.จังหวัด) เพื่อจัดสรรที่ดินท ากิน และที่อยู่อาศัยให้แก่เกษตรกรที่ยากไร้ และเกษตรกรตามหลักการ
                  ของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาต ิ


                    3. มาตรการด้านทรัพยากรน้่า

                          3.1   มาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องยึดนโยบาย
                  ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ าแห่งชาติ (กนช.) และคณะกรรมการลุ่มน้ าเป็นหลัก เพื่อให้เกิด
                  การพัฒนาแบบบูรณาการร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง การขาดแคลนน้ าเพื่อใช้ใน
                  ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม การอุปโภค และบริโภค ตลอดจนปัญหาน้ าเน่าเสีย และคุณภาพของน้ า

                  ที่อยู่ในเกณฑ์ต่ า
                          3.2   ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อการจัดการบริหารน้ า โดยการก าหนดพระราชบัญญัติ
                  ทรัพยากรน้ า หรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ า การพัฒนาแหล่งน้ า และการควบคุม
                  การใช้น้ าให้สอดคล้องกัน และก าหนดสิทธิหน้าที่ของผู้ใช้น้ าให้ชัดเจน
                          3.3  จัดท าทะเบียนแหล่งน้ า พื้นที่ชุ่มน้ าในระดับต าบล

                          3.4   พัฒนาปรับปรุง และอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ าอย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ าต้นทุนใน
                  แหล่งน้ าที่มีศักยภาพในการกักเก็บให้มีปริมาณน้ าเพียงพอกับความต้องการ และคุณภาพน้ าอยู่ในเกณฑ์ดี
                  สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125