Page 58 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 58

2-40




                             3) การประมง
                                จังหวัดกาฬสินธุมีทั้งแหลงน้ำตามธรรมชาติและแหลงน้ำจากโครงการชลประทาน
                  โดยแหลงน้ำตามธรรมชาติมีความสำคัญตอการใชอุปโภคของประชาชนตลอดจนใชในการทำ

                                                                                              ่
                  เกษตรกรรมและประมง ไดแก ลำน้ำปาว มีตนกำเนิดจากเทือกเขาภูพาน และไหลผานพื้นทีของจังหวัด
                  ดานทิศตะวันตก โดยไหลผานอำเภอทาคันโท อำเภอคำมวง อำเภอสหัสขันธ อำเภอหนองกุงศรี
                  อำเภอเมืองกาฬสินธุ อำเภอยางตลาด และอำเภอฆองชัย ไหลมาบรรจบกับแมน้ำชีที่อำเภอกมลาไสย
                                                 ื
                                                                       ี่
                  และลำน้ำพะยัง มีตนกำเนิดมาจากเทอกเขาภูพาน ไหลผานพื้นทของจังหวัดทิศตะวันออก โดยไหลผาน
                  อำเภอเขาวง อำเภอหวยผึ้ง อำเภอกุฉินนารายณ มาบรรจบกับแมน้ำชีที่จังหวัดรอยเอ็ด มีพื้นที่ลุมน้ำ
                                      ิ
                                                    ี
                                                                                                    
                                                         
                                                                                  ่
                                                                                         ี
                                                                      
                                                                          
                  ประมาณ 4,126 ตารางกโลเมตร ปจจุบันมการใขประโยชนลำน้ำคอนขางนอย เนืองจากมปริมาณน้ำไมมาก
                  และแมน้ำชี ไหลผานพื้นที่ของจังหวัดกาฬสินธุในชวงอำเภอยางตลาด อำเภอฆองชัย อำเภอกมลาไสย
                  และอำเภอรองคำ นอกจากนี้ยังมีแหลงน้ำจากโครงการชลประทานขนาดใหญ คือ เขื่อนลำปาว ทำให
                                  ี
                                   ั
                                                               ี
                                                                                   ่
                                                                                   ี
                  จังหวัดกาฬสินธุ มศกยภาพการทำประมง สงผลใหมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำททำรายไดใหแกจังหวัด
                  เชน กุงกามกราม และปลากระชัง CP สำหรับดานการผลิตการเลี้ยงสัตวน้ำ ป 2564 เปนผลผลิตจาก
                                                                                                      
                  การเลี้ยงในบอมากที่สุด มีปริมาณ 8,204 ตัน คิดเปนรอยละ 81.07 ของปริมาณทั้งหมด มีมูลคา
                  692.96 ลานบาท คิดเปนรอยละ 87.04 ของมูลคาทั้งหมด รองลงมา เปนผลผลิตจากการเลี้ยงในกระชัง
                  มีปริมาณ 1,866 ตัน คิดเปนรอยละ 18.44 ของปริมาณทั้งหมด มีมูลคา 100.71 ลานบาท คิดเปนรอยละ
                  12.65 ของมูลคาทังหมด และเปนผลผลิตจากการเลี้ยงในนา มีปริมาณ 37 ตัน คิดเปนรอยละ 0.37
                                  ้
                  ของปริมาณทั้งหมด มีมูลคา 1.80 ลานบาท คิดเปนรอยละ 0.23 ของมูลคาทั้งหมด ตามลำดับ
                  เมื่อพิจารณาผลผลิตจำแนกเปนชนิดของสัตวน้ำที่เลี้ยง พบวา กุงกามกราม เปนสัตวน้ำจืดที่ผลิต
                                                                             ั้
                  มีมูลคามากที่สุด มีปริมาณ 1,309 ตัน คิดเปนรอยละ 12.93 ของปริมาณทงหมด มีมูลคา 327.23 ลานบาท
                  คิดเปนรอยละ 41.10 ของมูลคาทั้งหมด รองลงมา ปลานิล มีปริมาณ 4,334 ตัน คิดเปนรอยละ 42.83
                  ของปริมาณทั้งหมด มีมูลคา 236.50 ลานบาท คิดเปนรอยละ 29.71 ของมูลคาทั้งหมด และ
                                                                                   ี
                                                                            ั
                                                                                       
                                                                                     ู
                  ปลาตะเพียน มีปริมาณ 4,334 ตน คดเปนรอยละ 42.83 ของปริมาณทงหมด มมลคา 236.50 ลานบาท
                                                                            ้
                                             ั
                                                ิ
                  คิดเปนรอยละ 29.71 ของมูลคาทงหมด ในสวนของปญหาสำหรับการผลิตกงกามกราม ซึ่งเปนสัตวน้ำจืด
                                                                                  
                                             ั้
                                                                               ุ
                  ที่ทำรายไดใหกับจังหวัด พบวา ปญหาที่ผานมาเกษตรกรประสบกับการสงน้ำผานคลองชลประทานไมตอเนื่อง
                                                    ้
                  บอเลี้ยงกุงของเกษตรสวนใหญคอนขางตืนประมาณ 80 เซนติเมตร ตากบอลอกเลนกนบอไมเหมาะสม
                  ปลอยกุงในอัตราที่หนาแนน ไมนำเครื่องตีน้ำมาใชในการเพิ่มออกซิเจนในชวงวิกฤติสภาพอากาศปดและ
                  ไมมีบอพักน้ำ แนวทางการเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นกวาเดิม 35 เปอรเซ็นต หรือประมาณ 250 ตัน หรือ
                  คิดเปนมูลคา 63 ลานบาท โดยสงเสริมแนะนำใหเกษตรกรปลอยกุงในอัตราสวนที่เหมาะสม ใหมีการ
                  ลอกเลนตากบอที่เหมาะสม และแนะนำเทคนิคการเลี้ยงกุงใหไดผลผลิตดี (ตารางที่ 2-26)
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63