Page 56 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 56

2-38




                             2) การปศุสัตว
                                จังหวัดกาฬสินธุ ป 2564 มีการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจที่สำคัญหลายชนิด พบวา เลี้ยงไก 
                                                                                                      ั
                  มากที่สุด จำนวน 3.20 ลานตัว อำเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด คือ อำเภอหนองกุงศรี จำนวน 442,944 ตว
                  รองลงมา อำเภอเมืองกาฬสินธุ จำนวน 418,449 ตัว และอำเภอกุฉินนารายณ จำนวน 336,981 ตัว
                  รองลงมา เปด จำนวน 304,120 ตัว อำเภอที่มีการเลี้ยงเปดมากที่สุด คือ อำเภอฆองชัย จำนวน 59,248 ตัว
                  รองลงมา อำเภอเมืองกาฬสินธุ จำนวน 52,331 ตัว และอำเภอกมลาไสย จำนวน 27,665 ตัว เกษตรกร
                                           ี
                                                                                ้
                  เลี้ยงไกและเปดในจังหวัดยังมการเลี้ยงในปริมาณนอย จึงควรสงเสริมการเลียงโดยเนนการจัดการฟารม
                                                            ้
                                                                                                     ี่
                  ที่ไดมาตรฐาน (GAP) ตามนโยบายรัฐบาล และโคเนือ จำนวน 123,157 ตัว อำเภอที่มีการเลี้ยงมากทสุด
                  คือ อำเภอกุฉินนารายณ จำนวน 14,501 ตัว รองลงมา อำเภอเมองกาฬสินธุ จำนวน 13,875 ตัว และ
                                                                        ื
                                                                                               ุ
                  อำเภอยางตลาด จำนวน 10,192 ตัว เกษตรกรในจังหวัดกาฬสินธุเลี้ยงโคมีตนทุนสูง ทำใหไมมีเงินทนเพยงพอ
                                                                                                  ี
                  ดังนั้น ควรหาแหลงเงินทุนใหแกเกษตรกรและสงเสริมการรวมกลุมเกษตรกรเพื่อถายทอดองคความรู 
                  ใหแกกันและสรางอำนาจตอรองทางการตลาด นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงสัตวประเภทอื่น ๆ เชน สุกร
                  จำนวน 72,129 ตัว กระบือ จำนวน 27,924 ตัว แพะ จำนวน 5,058 ตัว โคนม จำนวน 742 ตัว และแกะ
                  จำนวน 136 ตัว ตามลำดับ เกษตรกรมีการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจประเภทอื่น ๆ คอนขางนอยในทิศทาง
                  เดียวกันเมือเปรียบเทียบกับจังหวัดใกลเคียง ทั้งที่มีศักยภาพของพื้นที่ในการเลี้ยงสัตวใกลเคียงกัน
                           ่
                  จึงควรสงเสริมการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจเชิงพาณิชย เชน การทำ Contract Farming รวมกับโครงการ
                  อาหารปลอดภัย (KS) หรือเนนการสรางแรงจูงใจใหบริษทอุตสาหกรรมอาหาร เชน CP และ BETAGRO
                                                                ั
                  เขามาขยายฐานการผลิตในพื้นที่จังหวัดมากขึ้น ภายใตมาตรฐานการผลิตที่สะอาด ถูกหลักอนามัย
                  และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อเปนรายไดเสริมในชวงที่วางเวนจากการเก็บเกี่ยว (ตารางที่ 2-25)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61